ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Mpngam (คุย | มีส่วนร่วม) |
Mpngam (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
==วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ== | ==วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ== | ||
− | + | ||
[[ไฟล์:1.png|thumb|right|''วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ'']] เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน | [[ไฟล์:1.png|thumb|right|''วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ'']] เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน | ||
==๒๔๘๑== | ==๒๔๘๑== | ||
− | + | ||
[[ไฟล์:2.png|thumb|left|๒๔๘๑]] | [[ไฟล์:2.png|thumb|left|๒๔๘๑]] | ||
๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จัดตั้งกองวัฒนธรรม สังกัดกรมศิลปากร เริ่มต้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๑ มีการตั้งกองวัฒนธรรม ในสังกัดกรมศิลปากร ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๘๓ มีพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ กำหนดความหมายของวัฒนธรรมว่า หมายถึงลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน | ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จัดตั้งกองวัฒนธรรม สังกัดกรมศิลปากร เริ่มต้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๑ มีการตั้งกองวัฒนธรรม ในสังกัดกรมศิลปากร ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๘๓ มีพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ กำหนดความหมายของวัฒนธรรมว่า หมายถึงลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน | ||
แถว 14: | แถว 14: | ||
==๒๔๘๕== | ==๒๔๘๕== | ||
− | + | ||
[[ไฟล์:4.png|thumb|left|๒๔๘๕]] | [[ไฟล์:4.png|thumb|left|๒๔๘๕]] | ||
พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๓ และ ๒๔๘๕ โดยกำหนดให้จัดตั้ง "สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ” มีหน้าที่ดังนี้ ๑) ค้นคว้า ดัดแปลง รักษา และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งชาติที่มีอยู่ ๒) คันคว้า ดักแปลง และกำหนดวัฒนธรรมที่ควรรับไว้หรือปรับปรุงต่อไป ๓) เผยแพร่วัฒนธรรมแห่งชาติให้เหมาะสมกับกาลสมัย ๔) ควบคุมและหาวิธีปลูกฝังวัฒนธรรมแห่งชาติในจิตใจของประชาชนจนเป็นนิสัย ๕) ให้ความเห็น รับปรึกษาและปฏิบัติการตามความมุ่งหมายของรัฐบาลในกิจกรรมอันเกี่ยวกับวันธรรมแห่งชาติ โดยกำหนดให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็น ๔ สำนัก คือ สำนักวัฒนธรรมทางจิตใจ สำนักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี สำนักวัฒนธรรมทางศิลปกรรม และสำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ | พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๓ และ ๒๔๘๕ โดยกำหนดให้จัดตั้ง "สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ” มีหน้าที่ดังนี้ ๑) ค้นคว้า ดัดแปลง รักษา และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งชาติที่มีอยู่ ๒) คันคว้า ดักแปลง และกำหนดวัฒนธรรมที่ควรรับไว้หรือปรับปรุงต่อไป ๓) เผยแพร่วัฒนธรรมแห่งชาติให้เหมาะสมกับกาลสมัย ๔) ควบคุมและหาวิธีปลูกฝังวัฒนธรรมแห่งชาติในจิตใจของประชาชนจนเป็นนิสัย ๕) ให้ความเห็น รับปรึกษาและปฏิบัติการตามความมุ่งหมายของรัฐบาลในกิจกรรมอันเกี่ยวกับวันธรรมแห่งชาติ โดยกำหนดให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็น ๔ สำนัก คือ สำนักวัฒนธรรมทางจิตใจ สำนักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี สำนักวัฒนธรรมทางศิลปกรรม และสำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ | ||
− | |||
− |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:52, 24 กันยายน 2562
วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ
เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน
๒๔๘๑
๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จัดตั้งกองวัฒนธรรม สังกัดกรมศิลปากร เริ่มต้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๑ มีการตั้งกองวัฒนธรรม ในสังกัดกรมศิลปากร ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๘๓ มีพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ กำหนดความหมายของวัฒนธรรมว่า หมายถึงลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน
๒๔๘๓
พระราชบัญญัติฉบับนี้มีสาระสำคัญ คือ กำหนดความหมายของ "วัฒนธรรม” หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงามความเป็นระเบียบอันดีงาน ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน และกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามวัฒนธรรมแห่งชาติ ต้องผุดงส่งเสริมความก้าวหน้าของชาติไทย โดยรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมตามประเพณีที่ดีและช่วยกันปรับปรุงบำรุงให้ดียิ่งขึ้นตามกาลสมัย
๒๔๘๕
พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๓ และ ๒๔๘๕ โดยกำหนดให้จัดตั้ง "สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ” มีหน้าที่ดังนี้ ๑) ค้นคว้า ดัดแปลง รักษา และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งชาติที่มีอยู่ ๒) คันคว้า ดักแปลง และกำหนดวัฒนธรรมที่ควรรับไว้หรือปรับปรุงต่อไป ๓) เผยแพร่วัฒนธรรมแห่งชาติให้เหมาะสมกับกาลสมัย ๔) ควบคุมและหาวิธีปลูกฝังวัฒนธรรมแห่งชาติในจิตใจของประชาชนจนเป็นนิสัย ๕) ให้ความเห็น รับปรึกษาและปฏิบัติการตามความมุ่งหมายของรัฐบาลในกิจกรรมอันเกี่ยวกับวันธรรมแห่งชาติ โดยกำหนดให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็น ๔ สำนัก คือ สำนักวัฒนธรรมทางจิตใจ สำนักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี สำนักวัฒนธรรมทางศิลปกรรม และสำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ