ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณกรรม วรรณคดี และวรรณศิลป์"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) |
M150 (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | + | [[ไฟล์:Qw.jpg|center|720px]] | |
− | |||
− | |||
− | + | '''วรรณกรรม''' | |
+ | วรรณกรรม หมายถึง หนังสือทั่วไป งานเขียนทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด หรือเพื่อมุ่งหมายอย่างใด รวมงานทุกชนิดทั้งที่อยู่ในรูปของลายลักษณ์และเรื่องราวที่เล่าสืบทอด กันมา รวมทั้งครอบคลุมงานแต่งที่ดีที่เรียกว่าวรรณคดีด้วย | ||
+ | '''วรรณคดี''' | ||
+ | วรรณคดี หมายถึง หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าเป็นหนังสือที่แต่งขึ้นอย่างมีศิลปะ ของการประพันธ์ เป็นหนังสือที่ผู้แต่งมีวิธีเขียนอย่างดี มีเนื้อหาและรูปแบบเหมาะสมกัน มีความ นึกคิดที่แสดงถึงความเฉียบแหลมของผู้แต่ง ก่อให้เกิดความประทับใจแก่ผู้อ่าน ทำให้ผู้อ่านเกิด ความเพลิดเพลิน เกิดมโนภาพไปตามจินตนาการของผู้แต่ง เร้าให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ สมควร แนะนำให้ผู้อื่นอ่านให้แพร่หลาย รักษาไว้เป็นมรดกวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ในการเข้าใจสังคม มนุษย์และชีวิตโดยทั่วไป เพื่อประโยชน์ในการเข้าใจวัฒนธรรม | ||
+ | |||
+ | '''องค์ประกอบของวรรณคดี และวรรณกรรม''' | ||
+ | :1. รูปแบบ (Form) | ||
+ | |||
+ | :2. เนื้อหา (Content) | ||
+ | |||
+ | '''วรรณศิลป์''' | ||
+ | วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะแห่งการแต่งบทประพันธ์ หัวใจของงานศิลปะทั่วไป เน้นสุนทรียภาพทางภาษาที่มีความประณีต งดงาม ได้แก่ ความงามของภาษา ความงามในเนื้อ เรื่องอันกลมกลืนกับรูปแบบ และความงามในสาระของข้อคิดเห็นหรือแนวคิดที่แฝงอยู่ในเนื้อ เรื่อง ส่วนความงามที่สำคัญที่สุดของการสร้างงานวรรณกรรมก็คือวิธีแต่ง วรรณศิลป์หรือ วรรณกรรมเป็นสาขาหนึ่งของงานวิจิตรศิลป์ เนื่องจากมีแนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์คล้าย กับศิลปะแขนงอื่น ๆ ที่ต่างกันก็เฉพาะสื่อที่นำมาใช้ซึ่งเกิดจากร้อยเรียงคำในลักษณะ คำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ ตามจินตนาการของกวีหรือศิลปินที่ผู้สร้างงานคำประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อย กรอง ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ และกลอน เป็นต้น | ||
+ | |||
+ | '''ผลงานวรรณศิลป์''' | ||
ผลงานวรรณศิลป์ เหมือนกับงานศิลปะแนวทางทัศนศิลป์ทั่วไป จากจินตนาการที่ได้รับ ความบันดาลใจจากธรรมชาติ จากศิลปกรรมและได้จากอารมณ์และความรู้สึกของตนเองและระหว่าง มนุษย์ กับมนุษย์ด้วยกันเอง การรับความบันดาลใจจากธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรมนี้เราจะพบใน งานวรรณกรรมอยู่หลายเรื่องหลายตอน เช่น ชมนก ชมไม้ การพรรณนาเหมือนกับภาพเขียนในภาพ ทิวทัศน์ของจิตรกรเขียนภาพป่าเขา ลำเนาไพร การชมเมืองในงานวรรณศิลป์เป็นต้น | ผลงานวรรณศิลป์ เหมือนกับงานศิลปะแนวทางทัศนศิลป์ทั่วไป จากจินตนาการที่ได้รับ ความบันดาลใจจากธรรมชาติ จากศิลปกรรมและได้จากอารมณ์และความรู้สึกของตนเองและระหว่าง มนุษย์ กับมนุษย์ด้วยกันเอง การรับความบันดาลใจจากธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรมนี้เราจะพบใน งานวรรณกรรมอยู่หลายเรื่องหลายตอน เช่น ชมนก ชมไม้ การพรรณนาเหมือนกับภาพเขียนในภาพ ทิวทัศน์ของจิตรกรเขียนภาพป่าเขา ลำเนาไพร การชมเมืองในงานวรรณศิลป์เป็นต้น | ||
− | ลักษณะของ | + | '''ลักษณะของ วรรณศิลป์''' |
+ | :1. อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) แสดงภาพและความรู้สึกได้อย่างชัดเจนและแนบเนียน | ||
− | + | :2. จินตนาการหรือความนึกคิด (Imagination) แสดงให้เห็นความเคลื่อนไหวของตัวละคร | |
− | 2. จินตนาการหรือความนึกคิด (Imagination) | ||
− | |||
− | + | :3. การแสดงออก (Expression) แสดงให้เห็นนิสัยใจคอและบุคลิกภาพของตัวละคร | |
− | |||
− | แสดงให้เห็นนิสัยใจคอและบุคลิกภาพของตัวละคร | ||
− | 4. ท่วงทำนองหรือท่วงท่าที่แสดงออก (Style) | + | :4. ท่วงทำนองหรือท่วงท่าที่แสดงออก (Style) ท่วงท่าที่เป็นส่วนรวม (racial style), ท่วงท่าที่แสดงออกเฉพาะตน (personal style) |
− | + | :5. กลวิธีในการแต่งหรือเทคนิค (Technique) | |
− | |||
− | + | :6. องค์ประกอบ (Composition) | |
− | 6. องค์ประกอบ (Composition) | ||
โดยสรุปแล้ว งานแต่งที่มีวรรณศิลป์จนถึงขั้นที่เรียกว่าวรรณคดี จะต้องประกอบ ด้วยลักษณะของวรรณศิลป์ครบถ้วน | โดยสรุปแล้ว งานแต่งที่มีวรรณศิลป์จนถึงขั้นที่เรียกว่าวรรณคดี จะต้องประกอบ ด้วยลักษณะของวรรณศิลป์ครบถ้วน |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:05, 19 กันยายน 2562
วรรณกรรม
วรรณกรรม หมายถึง หนังสือทั่วไป งานเขียนทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด หรือเพื่อมุ่งหมายอย่างใด รวมงานทุกชนิดทั้งที่อยู่ในรูปของลายลักษณ์และเรื่องราวที่เล่าสืบทอด กันมา รวมทั้งครอบคลุมงานแต่งที่ดีที่เรียกว่าวรรณคดีด้วย
วรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าเป็นหนังสือที่แต่งขึ้นอย่างมีศิลปะ ของการประพันธ์ เป็นหนังสือที่ผู้แต่งมีวิธีเขียนอย่างดี มีเนื้อหาและรูปแบบเหมาะสมกัน มีความ นึกคิดที่แสดงถึงความเฉียบแหลมของผู้แต่ง ก่อให้เกิดความประทับใจแก่ผู้อ่าน ทำให้ผู้อ่านเกิด ความเพลิดเพลิน เกิดมโนภาพไปตามจินตนาการของผู้แต่ง เร้าให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ สมควร แนะนำให้ผู้อื่นอ่านให้แพร่หลาย รักษาไว้เป็นมรดกวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ในการเข้าใจสังคม มนุษย์และชีวิตโดยทั่วไป เพื่อประโยชน์ในการเข้าใจวัฒนธรรม
องค์ประกอบของวรรณคดี และวรรณกรรม
- 1. รูปแบบ (Form)
- 2. เนื้อหา (Content)
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะแห่งการแต่งบทประพันธ์ หัวใจของงานศิลปะทั่วไป เน้นสุนทรียภาพทางภาษาที่มีความประณีต งดงาม ได้แก่ ความงามของภาษา ความงามในเนื้อ เรื่องอันกลมกลืนกับรูปแบบ และความงามในสาระของข้อคิดเห็นหรือแนวคิดที่แฝงอยู่ในเนื้อ เรื่อง ส่วนความงามที่สำคัญที่สุดของการสร้างงานวรรณกรรมก็คือวิธีแต่ง วรรณศิลป์หรือ วรรณกรรมเป็นสาขาหนึ่งของงานวิจิตรศิลป์ เนื่องจากมีแนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์คล้าย กับศิลปะแขนงอื่น ๆ ที่ต่างกันก็เฉพาะสื่อที่นำมาใช้ซึ่งเกิดจากร้อยเรียงคำในลักษณะ คำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ ตามจินตนาการของกวีหรือศิลปินที่ผู้สร้างงานคำประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อย กรอง ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ และกลอน เป็นต้น
ผลงานวรรณศิลป์
ผลงานวรรณศิลป์ เหมือนกับงานศิลปะแนวทางทัศนศิลป์ทั่วไป จากจินตนาการที่ได้รับ ความบันดาลใจจากธรรมชาติ จากศิลปกรรมและได้จากอารมณ์และความรู้สึกของตนเองและระหว่าง มนุษย์ กับมนุษย์ด้วยกันเอง การรับความบันดาลใจจากธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรมนี้เราจะพบใน งานวรรณกรรมอยู่หลายเรื่องหลายตอน เช่น ชมนก ชมไม้ การพรรณนาเหมือนกับภาพเขียนในภาพ ทิวทัศน์ของจิตรกรเขียนภาพป่าเขา ลำเนาไพร การชมเมืองในงานวรรณศิลป์เป็นต้น
ลักษณะของ วรรณศิลป์
- 1. อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) แสดงภาพและความรู้สึกได้อย่างชัดเจนและแนบเนียน
- 2. จินตนาการหรือความนึกคิด (Imagination) แสดงให้เห็นความเคลื่อนไหวของตัวละคร
- 3. การแสดงออก (Expression) แสดงให้เห็นนิสัยใจคอและบุคลิกภาพของตัวละคร
- 4. ท่วงทำนองหรือท่วงท่าที่แสดงออก (Style) ท่วงท่าที่เป็นส่วนรวม (racial style), ท่วงท่าที่แสดงออกเฉพาะตน (personal style)
- 5. กลวิธีในการแต่งหรือเทคนิค (Technique)
- 6. องค์ประกอบ (Composition)
โดยสรุปแล้ว งานแต่งที่มีวรรณศิลป์จนถึงขั้นที่เรียกว่าวรรณคดี จะต้องประกอบ ด้วยลักษณะของวรรณศิลป์ครบถ้วน