ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "center ศาสนาพราหมณ์ ได้เผยแพร่เข้ามาในสัง...") |
M150 (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | + | [[ไฟล์:Thailand-1385486 960 720.jpg|center|720px]] | |
− | ที่มาของวัฒนธรรมไทยอีกแหล่งหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งได้หลั่งไหลเข้ามาในสังคมไทย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความสะดวก รวดเร็วของการติดต่อสื่อสารคมนาคมและสื่อมวลชน วัฒนธรรมตะวันตกที่ได้เผยแพร่เข้ามา ก็ได้แก่ มรรยาทในการสังคม เช่น การสัมผัสมือ (shake hand) การกีฬา เช่น รักบี้ ฟุตบอล และการแต่งกายแบบสากล อันได้แก่ ผูกเน็คไท สวมเสื้อนอก เป็นต้น (อานนท์ อาภาภิรม, 2519 : 105-107) | + | |
+ | |||
+ | '''ศาสนาพราหมณ์''' | ||
+ | ศาสนาพราหมณ์ ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่าน ทางเขมร อินโดนีเซีย และมลายู อันเป็นที่มาของประเพณีต่าง ๆ ซึ่งได้รับการปฏิบัติกันอยู่ในสังคมไทย เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีอาบน้ำในพิธีการต่าง ๆ ได้แก่ อาบน้ำในพิธีปลงผมไฟ อาบน้ำ ในพิธีโกนจุก การอาบน้ำในพิธีการแต่งงาน และการอาบน้ำศพ เป็นต้น | ||
+ | |||
+ | '''พุทธศาสนา''' | ||
+ | พุทธศาสนา ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่านทาง ประเทศ จีน พม่า และลังกา พุทธศาสนาได้เป็นศาสนาประจำชาติไทย ซึ่งก่อให้เกิดประเพณีมากมาย หรือ อาจกล่าวได้ว่าพุทธศาสนาผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย ประเพณีที่สำคัญ ๆ ได้แก่ การก่อพระเจดีย์ทราย การทอดกฐิน และการบวชนาค เป็นต้น | ||
+ | |||
+ | '''วัฒนธรรมตะวันตก''' | ||
+ | วัฒนธรรมตะวันตก ที่มาของวัฒนธรรมไทยอีกแหล่งหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งได้หลั่งไหลเข้ามาในสังคมไทย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความสะดวก รวดเร็วของการติดต่อสื่อสารคมนาคมและสื่อมวลชน วัฒนธรรมตะวันตกที่ได้เผยแพร่เข้ามา ก็ได้แก่ มรรยาทในการสังคม เช่น การสัมผัสมือ (shake hand) การกีฬา เช่น รักบี้ ฟุตบอล และการแต่งกายแบบสากล อันได้แก่ ผูกเน็คไท สวมเสื้อนอก เป็นต้น (อานนท์ อาภาภิรม, 2519 : 105-107) | ||
เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย | เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย | ||
− | ศาสนา | + | '''ศาสนา''' |
− | + | ศาสนา เป็นสถาบันที่สำคัญควบคู่กับสังคมมนุษย์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ ไม่ว่า สังคมของชนชาติใด หรือภาษาใด เพราะศาสนาเป็นสิ่งที่มากับชีวิตมนุษย์ทุกคน และมีความ สัมพันธ์ ต่อปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากศาสนา เป็นสื่อระหว่าง มนุษย์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ ฉะนั้นศาสนาจึงเป็นที่รวมของความ เคารพนับถือสูงสุดของมนุษย์เป็นที่พึ่งทางด้านจิตใจ และเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต เพื่อให้ เข้าถึงสิ่งสูงสุดตามอุดมการณ์หรือความเชื่อถือนั้น ๆ และศาสนาเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้าง สรรค์วัฒนธรรมด้านอื่น ๆ แทบทุกด้าน เช่น วัฒนธรรมทางการเมืองการปกครองเศรษฐกิจ ศิลปกรรม วรรณกรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ | |
− | พุทธศาสนากับชีวิตประจำวันของคนไทย | + | '''พุทธศาสนากับชีวิตประจำวันของคนไทย''' |
คนไทยมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนามาเป็นเวลานานนับพันปีเศษมาแล้ว พุทธ ศาสนิกชนทั้งหลายมีความรู้สึกเคารพและศรัทธาในพุทธศาสนาฝังอยู่ในสายเลือดของคนไทยมา ตั้งแต่เกิดจนตาย พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่จำเป็นต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก เพราะศาสนาพุทธ ได้ผูกมัดจิตใจคนไทยทั้งชาติให้เป็นคนรักสันติ รักอิสระเสรี มีนิสัยโอบอ้อมอารี มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน พุทธศาสนาได้ฝังรากลงในจิตใจของ คนไทยทั้งใน อดีตและปัจจุบัน คนไทยจึงได้แสดงออกทางศิลปกรรมต่าง ๆ เช่น จิตรกรรมมักจะเป็นเรื่องราว เกี่ยวกับชาดกต่าง ๆ ในพุทธประวัติด้านสถาปัตยกรรมก็มีการสร้างวัดวาอารามต่าง ๆ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ เป็นต้น ส่วนดนตรีไทยก็ให้ความเยือกเย็นตามแนวทางสันติของพุทธศาสนา ด้วยอิทธิพลของ หลักธรรมในพระพุทธศาสนาทำให้จิตใจของคนไทยแสดงออกมาในลักษณะที่เยือกเย็นมีความเกื้อกูลปรองดองกัน ให้การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และทำให้คนไทยพอใจในการดำรงชีวิต อย่าง สงบสุขมาจนกระทั่งทุกวันนี้ | คนไทยมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนามาเป็นเวลานานนับพันปีเศษมาแล้ว พุทธ ศาสนิกชนทั้งหลายมีความรู้สึกเคารพและศรัทธาในพุทธศาสนาฝังอยู่ในสายเลือดของคนไทยมา ตั้งแต่เกิดจนตาย พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่จำเป็นต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก เพราะศาสนาพุทธ ได้ผูกมัดจิตใจคนไทยทั้งชาติให้เป็นคนรักสันติ รักอิสระเสรี มีนิสัยโอบอ้อมอารี มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน พุทธศาสนาได้ฝังรากลงในจิตใจของ คนไทยทั้งใน อดีตและปัจจุบัน คนไทยจึงได้แสดงออกทางศิลปกรรมต่าง ๆ เช่น จิตรกรรมมักจะเป็นเรื่องราว เกี่ยวกับชาดกต่าง ๆ ในพุทธประวัติด้านสถาปัตยกรรมก็มีการสร้างวัดวาอารามต่าง ๆ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ เป็นต้น ส่วนดนตรีไทยก็ให้ความเยือกเย็นตามแนวทางสันติของพุทธศาสนา ด้วยอิทธิพลของ หลักธรรมในพระพุทธศาสนาทำให้จิตใจของคนไทยแสดงออกมาในลักษณะที่เยือกเย็นมีความเกื้อกูลปรองดองกัน ให้การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และทำให้คนไทยพอใจในการดำรงชีวิต อย่าง สงบสุขมาจนกระทั่งทุกวันนี้ | ||
แถว 22: | แถว 26: | ||
− | หลักคำสอนของพุทธศาสนา | + | '''หลักคำสอนของพุทธศาสนา''' |
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คือ "พระธรรม" ซึ่งพระพุทธองค์ทรง มุ่งสอน สำหรับบุคคลทุกประเภททั้งบรรพชิต และคฤหัสถ์ การสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มุ่งผล ในทางปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี หลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อาจจำแนกออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ | คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คือ "พระธรรม" ซึ่งพระพุทธองค์ทรง มุ่งสอน สำหรับบุคคลทุกประเภททั้งบรรพชิต และคฤหัสถ์ การสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มุ่งผล ในทางปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี หลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อาจจำแนกออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ | ||
− | โลกุตรธรรม | + | '''โลกุตรธรรม''' |
โลกุตรธรรมเป็นธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรก คือ "อริยสัจสี่" หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค | โลกุตรธรรมเป็นธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรก คือ "อริยสัจสี่" หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค | ||
− | 1) ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ อันเกิดจาก การเกิด การแก่ การเจ็บ และการตาย เช่น การพลัดพรากจากคนรัก ความไม่สมหวัง ความคับแค้น ใจต่าง ๆ การเจ็บไข้ได้ป่วย เป็นต้น ที่ทุกชีวิตทุกคนในสังคมต้องประสบ | + | :1) ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ อันเกิดจาก การเกิด การแก่ การเจ็บ และการตาย เช่น การพลัดพรากจากคนรัก ความไม่สมหวัง ความคับแค้น ใจต่าง ๆ การเจ็บไข้ได้ป่วย เป็นต้น ที่ทุกชีวิตทุกคนในสังคมต้องประสบ |
− | 2) สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 ประการคือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา | + | :2) สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 ประการคือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา |
− | - กามตัณหา คือ ความอยากได้ในสิ่งที่น่ารักใคร่ | + | ::- กามตัณหา คือ ความอยากได้ในสิ่งที่น่ารักใคร่ |
− | - ภวตัณหา คือ ความอยากมีอยากเห็น | + | ::- ภวตัณหา คือ ความอยากมีอยากเห็น |
− | - วิภวตัณหา คือ ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น | + | ::- วิภวตัณหา คือ ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น |
− | 3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์หรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป | + | :3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์หรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป |
− | 4) มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรค 8 หรือมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) ได้แก่ ปัญญาชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ ทำการงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ ทำความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ | + | :4) มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรค 8 หรือมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) ได้แก่ ปัญญาชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ ทำการงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ ทำความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ |
− | โลกียธรรม | + | '''โลกียธรรม''' |
โลกียธรรมเป็นธรรมสำหรับปุถุชนชาวโลก ทั่วไป มีดังนี้ | โลกียธรรมเป็นธรรมสำหรับปุถุชนชาวโลก ทั่วไป มีดังนี้ | ||
− | เบญจศีลและเบญจธรรม | + | :เบญจศีลและเบญจธรรม |
− | + | ||
− | 1. เว้นจากการฆ่าสัตว์ | + | ::เบญจศีล |
− | 2. เว้นจากการลักทรัพย์ | + | :::1. เว้นจากการฆ่าสัตว์ |
− | 3. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม | + | |
− | 4. เว้นจากการพูดเท็จ | + | :::2. เว้นจากการลักทรัพย์ |
− | 5. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย | + | |
− | เบญจธรรม | + | :::3. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม |
− | + | ||
− | + | :::4. เว้นจากการพูดเท็จ | |
− | + | ||
− | + | :::5. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย | |
− | + | ||
+ | ::เบญจธรรม | ||
− | พรหมวิหาร | + | :::1. มีเมตตากรุณา |
− | คือ ธรรมประจำใจของผู้ประเสริฐ หรือ ผู้มีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม มีดังนี้ | + | |
+ | :::2. เลี้ยงชีพชอบในทางที่ถูกต้อง | ||
+ | |||
+ | :::3. มีความสำรวมระวังในกาม | ||
+ | |||
+ | :::4. พูดแต่คำสัตย์จริง | ||
+ | |||
+ | :::5. มีสติระวังรักษาตนไว้เสมอ | ||
+ | |||
+ | '''พรหมวิหาร''' | ||
+ | |||
+ | พรหมวิหาร คือ ธรรมประจำใจของผู้ประเสริฐ หรือ ผู้มีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม มีดังนี้ | ||
- เมตตา ได้แก่ ความรัก ความปรารถนาดี ให้ผู้อื่น มีความสุข | - เมตตา ได้แก่ ความรัก ความปรารถนาดี ให้ผู้อื่น มีความสุข | ||
- กรุณา ได้แก่ ความสงสาร อยากช่วยเหลือผู้อื่น ๆ ให้พ้นทุกข์ | - กรุณา ได้แก่ ความสงสาร อยากช่วยเหลือผู้อื่น ๆ ให้พ้นทุกข์ | ||
แถว 67: | แถว 83: | ||
- อุเบกขา ได้แก่ ความวางใจเป็นกลาง วางตนและ ปฏิบัติไปตามความเที่ยง | - อุเบกขา ได้แก่ ความวางใจเป็นกลาง วางตนและ ปฏิบัติไปตามความเที่ยง | ||
− | สังคหวัตถุ | + | '''สังคหวัตถุ''' |
− | คือ การสงเคราะห์หรือ ธรรมแห่งการ ยึด เหนี่ยวบุคคลให้เกิดความสามัคคีมี 4 ประการ คือ | + | |
+ | สังคหวัตถุ คือ การสงเคราะห์หรือ ธรรมแห่งการ ยึด เหนี่ยวบุคคลให้เกิดความสามัคคีมี 4 ประการ คือ | ||
- ทาน คือ การให้ การเสียสละ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกันด้วยสิ่งของหรือแนะนำให้ความรู้ เป็นต้น | - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกันด้วยสิ่งของหรือแนะนำให้ความรู้ เป็นต้น | ||
- ปิยวาจา ได้แก่ วาจาที่ไพเราะอ่อนหวาน ชี้แจง แนะนำ สิ่งที่เป็นประโยชน์หรือชักจูงในสิ่งที่ดีงาม | - ปิยวาจา ได้แก่ วาจาที่ไพเราะอ่อนหวาน ชี้แจง แนะนำ สิ่งที่เป็นประโยชน์หรือชักจูงในสิ่งที่ดีงาม | ||
แถว 74: | แถว 91: | ||
- สมานัตตตา ความมีเมตตา คือ การวางตน เสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ร่วมแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม | - สมานัตตตา ความมีเมตตา คือ การวางตน เสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ร่วมแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม | ||
− | ฆราวาสธรรม | + | ''' ฆราวาสธรรม''' |
− | คือ หลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติสำหรับ ผู้ครองเรือน มี 4 ประการ ได้แก่ | + | |
+ | ฆราวาสธรรม คือ หลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติสำหรับ ผู้ครองเรือน มี 4 ประการ ได้แก่ | ||
- สัจจะ ความจริงคือ ซื่อตรงต่อกันทั้งการกระทำ วาจา และใจ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง | - สัจจะ ความจริงคือ ซื่อตรงต่อกันทั้งการกระทำ วาจา และใจ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง | ||
- ทมะ คือ การรู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ปรับตัวปรับใจเข้าหากัน | - ทมะ คือ การรู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ปรับตัวปรับใจเข้าหากัน | ||
- ขันติ ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจเข้มแข็ง หนักแน่น ไม่วู่วาม อดทนต่อความล่วงล้ำก้ำเกินกัน ลำบากตรากตรำ ฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยกัน | - ขันติ ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจเข้มแข็ง หนักแน่น ไม่วู่วาม อดทนต่อความล่วงล้ำก้ำเกินกัน ลำบากตรากตรำ ฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยกัน | ||
- จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถสละความสุขส่วนตัวเพื่อคู่ครองได้ | - จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถสละความสุขส่วนตัวเพื่อคู่ครองได้ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:13, 13 กันยายน 2562
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่าน ทางเขมร อินโดนีเซีย และมลายู อันเป็นที่มาของประเพณีต่าง ๆ ซึ่งได้รับการปฏิบัติกันอยู่ในสังคมไทย เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีอาบน้ำในพิธีการต่าง ๆ ได้แก่ อาบน้ำในพิธีปลงผมไฟ อาบน้ำ ในพิธีโกนจุก การอาบน้ำในพิธีการแต่งงาน และการอาบน้ำศพ เป็นต้น
พุทธศาสนา
พุทธศาสนา ได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย โดยผ่านทาง ประเทศ จีน พม่า และลังกา พุทธศาสนาได้เป็นศาสนาประจำชาติไทย ซึ่งก่อให้เกิดประเพณีมากมาย หรือ อาจกล่าวได้ว่าพุทธศาสนาผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย ประเพณีที่สำคัญ ๆ ได้แก่ การก่อพระเจดีย์ทราย การทอดกฐิน และการบวชนาค เป็นต้น
วัฒนธรรมตะวันตก
วัฒนธรรมตะวันตก ที่มาของวัฒนธรรมไทยอีกแหล่งหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งได้หลั่งไหลเข้ามาในสังคมไทย อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความสะดวก รวดเร็วของการติดต่อสื่อสารคมนาคมและสื่อมวลชน วัฒนธรรมตะวันตกที่ได้เผยแพร่เข้ามา ก็ได้แก่ มรรยาทในการสังคม เช่น การสัมผัสมือ (shake hand) การกีฬา เช่น รักบี้ ฟุตบอล และการแต่งกายแบบสากล อันได้แก่ ผูกเน็คไท สวมเสื้อนอก เป็นต้น (อานนท์ อาภาภิรม, 2519 : 105-107)
เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย
ศาสนา
ศาสนา เป็นสถาบันที่สำคัญควบคู่กับสังคมมนุษย์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ ไม่ว่า สังคมของชนชาติใด หรือภาษาใด เพราะศาสนาเป็นสิ่งที่มากับชีวิตมนุษย์ทุกคน และมีความ สัมพันธ์ ต่อปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากศาสนา เป็นสื่อระหว่าง มนุษย์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ ฉะนั้นศาสนาจึงเป็นที่รวมของความ เคารพนับถือสูงสุดของมนุษย์เป็นที่พึ่งทางด้านจิตใจ และเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต เพื่อให้ เข้าถึงสิ่งสูงสุดตามอุดมการณ์หรือความเชื่อถือนั้น ๆ และศาสนาเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้าง สรรค์วัฒนธรรมด้านอื่น ๆ แทบทุกด้าน เช่น วัฒนธรรมทางการเมืองการปกครองเศรษฐกิจ ศิลปกรรม วรรณกรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ
พุทธศาสนากับชีวิตประจำวันของคนไทย
คนไทยมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนามาเป็นเวลานานนับพันปีเศษมาแล้ว พุทธ ศาสนิกชนทั้งหลายมีความรู้สึกเคารพและศรัทธาในพุทธศาสนาฝังอยู่ในสายเลือดของคนไทยมา ตั้งแต่เกิดจนตาย พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่จำเป็นต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก เพราะศาสนาพุทธ ได้ผูกมัดจิตใจคนไทยทั้งชาติให้เป็นคนรักสันติ รักอิสระเสรี มีนิสัยโอบอ้อมอารี มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน พุทธศาสนาได้ฝังรากลงในจิตใจของ คนไทยทั้งใน อดีตและปัจจุบัน คนไทยจึงได้แสดงออกทางศิลปกรรมต่าง ๆ เช่น จิตรกรรมมักจะเป็นเรื่องราว เกี่ยวกับชาดกต่าง ๆ ในพุทธประวัติด้านสถาปัตยกรรมก็มีการสร้างวัดวาอารามต่าง ๆ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ เป็นต้น ส่วนดนตรีไทยก็ให้ความเยือกเย็นตามแนวทางสันติของพุทธศาสนา ด้วยอิทธิพลของ หลักธรรมในพระพุทธศาสนาทำให้จิตใจของคนไทยแสดงออกมาในลักษณะที่เยือกเย็นมีความเกื้อกูลปรองดองกัน ให้การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และทำให้คนไทยพอใจในการดำรงชีวิต อย่าง สงบสุขมาจนกระทั่งทุกวันนี้
หลักคำสอนของพุทธศาสนา
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คือ "พระธรรม" ซึ่งพระพุทธองค์ทรง มุ่งสอน สำหรับบุคคลทุกประเภททั้งบรรพชิต และคฤหัสถ์ การสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มุ่งผล ในทางปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี หลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อาจจำแนกออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้
โลกุตรธรรม
โลกุตรธรรมเป็นธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจ้า ทรงสอนปัญจวัคคีย์เป็นครั้งแรก คือ "อริยสัจสี่" หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค
- 1) ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ อันเกิดจาก การเกิด การแก่ การเจ็บ และการตาย เช่น การพลัดพรากจากคนรัก ความไม่สมหวัง ความคับแค้น ใจต่าง ๆ การเจ็บไข้ได้ป่วย เป็นต้น ที่ทุกชีวิตทุกคนในสังคมต้องประสบ
- 2) สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 ประการคือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา
- - กามตัณหา คือ ความอยากได้ในสิ่งที่น่ารักใคร่
- - ภวตัณหา คือ ความอยากมีอยากเห็น
- - วิภวตัณหา คือ ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น
- 3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์หรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานต่าง ๆ ให้หมดสิ้นไป
- 4) มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มรรค 8 หรือมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) ได้แก่ ปัญญาชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ ทำการงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ ทำความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ
โลกียธรรม
โลกียธรรมเป็นธรรมสำหรับปุถุชนชาวโลก ทั่วไป มีดังนี้
- เบญจศีลและเบญจธรรม
- เบญจศีล
- 1. เว้นจากการฆ่าสัตว์
- เบญจศีล
- 2. เว้นจากการลักทรัพย์
- 3. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
- 4. เว้นจากการพูดเท็จ
- 5. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย
- เบญจธรรม
- 1. มีเมตตากรุณา
- 2. เลี้ยงชีพชอบในทางที่ถูกต้อง
- 3. มีความสำรวมระวังในกาม
- 4. พูดแต่คำสัตย์จริง
- 5. มีสติระวังรักษาตนไว้เสมอ
พรหมวิหาร
พรหมวิหาร คือ ธรรมประจำใจของผู้ประเสริฐ หรือ ผู้มีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม มีดังนี้ - เมตตา ได้แก่ ความรัก ความปรารถนาดี ให้ผู้อื่น มีความสุข - กรุณา ได้แก่ ความสงสาร อยากช่วยเหลือผู้อื่น ๆ ให้พ้นทุกข์ - มุทิตา ได้แก่ พลอยชื่นชมยินดีเมื่อเห็น ผู้อื่นมี ความ สุข - อุเบกขา ได้แก่ ความวางใจเป็นกลาง วางตนและ ปฏิบัติไปตามความเที่ยง
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ คือ การสงเคราะห์หรือ ธรรมแห่งการ ยึด เหนี่ยวบุคคลให้เกิดความสามัคคีมี 4 ประการ คือ - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกันด้วยสิ่งของหรือแนะนำให้ความรู้ เป็นต้น - ปิยวาจา ได้แก่ วาจาที่ไพเราะอ่อนหวาน ชี้แจง แนะนำ สิ่งที่เป็นประโยชน์หรือชักจูงในสิ่งที่ดีงาม - อัตถจริยา คือ การบำเพ็ญประโยชน์ ได้แก่ การ ช่วยเหลือด้วยแรงกาย บำเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งช่วยแก้ไขปรับปรุงด้านจริยธรรม - สมานัตตตา ความมีเมตตา คือ การวางตน เสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ร่วมแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ส่วนรวม
ฆราวาสธรรม
ฆราวาสธรรม คือ หลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติสำหรับ ผู้ครองเรือน มี 4 ประการ ได้แก่ - สัจจะ ความจริงคือ ซื่อตรงต่อกันทั้งการกระทำ วาจา และใจ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง - ทมะ คือ การรู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ปรับตัวปรับใจเข้าหากัน - ขันติ ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจเข้มแข็ง หนักแน่น ไม่วู่วาม อดทนต่อความล่วงล้ำก้ำเกินกัน ลำบากตรากตรำ ฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยกัน - จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถสละความสุขส่วนตัวเพื่อคู่ครองได้