ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คุณค่าทางวรรณศิลป์"

จาก wikipedia
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
  
  
[[ไฟล์:Reading-1246520 960 720.jpg|center|720px]]
+
[[ไฟล์:55.jpg|center|520px]]
  
  
  
    คุณค่าทางวรรณศิลป์
+
    ''' คุณค่าทางวรรณศิลป์'''
  
 
ตามพจนานุกรรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ว่า  วรรณศิลป์ หมายถึง “ศิลปะในการแต่งหนังสือ,ศิลปะทางวรรณกรรม,วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี,หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี
 
ตามพจนานุกรรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ว่า  วรรณศิลป์ หมายถึง “ศิลปะในการแต่งหนังสือ,ศิลปะทางวรรณกรรม,วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี,หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี
แถว 11: แถว 11:
 
การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ต้องศึกษาตั้งแต่การเลือกชนิดคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน การรู้จักตกแต่งถ้อยคำให้ไพเราะสละสลวยอันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวี และทำให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์   ภาษากวีเพื่อสร้างความงดงามไพเราะแก่บทร้อยแก้วหรือร้อยกรองนั้น มีหลักสำคัญที่เกี่ยวข้องกัน ๓ ด้าน ดังนี้
 
การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ต้องศึกษาตั้งแต่การเลือกชนิดคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน การรู้จักตกแต่งถ้อยคำให้ไพเราะสละสลวยอันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวี และทำให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์   ภาษากวีเพื่อสร้างความงดงามไพเราะแก่บทร้อยแก้วหรือร้อยกรองนั้น มีหลักสำคัญที่เกี่ยวข้องกัน ๓ ด้าน ดังนี้
  
     การสรรคำ  
+
     '''การสรรคำ'''  
  
 
การสรรคำ คือ   การเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคำประพันธ์ การสรรคำทำได้ดังนี้
 
การสรรคำ คือ   การเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคำประพันธ์ การสรรคำทำได้ดังนี้
  
- การเลือกคำให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
+
:- การเลือกคำให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
  
- การใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
+
:- การใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
  
- การเลือกใช้คำพ้องเสียง คำซ้ำ
+
:- การเลือกใช้คำพ้องเสียง คำซ้ำ
  
- การเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียงสัมผัส
+
:- การเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียงสัมผัส
  
- การเลือกใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ
+
:- การเลือกใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ
  
- การเลือกใช้คำไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
+
:- การเลือกใช้คำไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
  
     การเรียบเรียงคำ
+
     '''การเรียบเรียงคำ'''
  
 
การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธีเช่น
 
การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธีเช่น
  
- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น
+
:- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น
  
- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญน้อยไปหามาก แต่กลับหักมุมความคิดผู้อ่านเมื่อถึงจุดสุดขั้น
+
:- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญน้อยไปหามาก แต่กลับหักมุมความคิดผู้อ่านเมื่อถึงจุดสุดขั้น
  
- จัดลำดับคำให้เป็นคำถามแต่ไม่ต้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยู่ในตัวคำถามแล้ว
+
:- จัดลำดับคำให้เป็นคำถามแต่ไม่ต้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยู่ในตัวคำถามแล้ว
  
- เรียงถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข้ามเพื่อเจตนาเยาะเย้ย ถากถาง
+
:- เรียงถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข้ามเพื่อเจตนาเยาะเย้ย ถากถาง
  
- เรียงคำวลี ประโยค ที่มีความสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป
+
:- เรียงคำวลี ประโยค ที่มีความสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป
  
     การใช้โวหาร
+
     '''การใช้โวหาร'''
  
 
การใช้โวหาร คือการใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพเรียกว่า “ภาพพจน์” ซึ่งมีหลายวิธี ได้แก่
 
การใช้โวหาร คือการใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพเรียกว่า “ภาพพจน์” ซึ่งมีหลายวิธี ได้แก่
  
- อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคำเปรียบปรากฏอยู่ด้วย คำเปรียบเทียบเหล่านี้ได้แก่ เหมือน เสมือน ดุจ เล่ห์ เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
+
:- อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคำเปรียบปรากฏอยู่ด้วย คำเปรียบเทียบเหล่านี้ได้แก่ เหมือน เสมือน ดุจ เล่ห์ เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
  
- อุปลักษณ์  คือการเน้นความหมายว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งมาก จนเหมือนกับเป็นสิ่งเดียวกัน โดยมีคำเปรียบ เป็น คือ เท่า ปรากฏในข้อความ
+
:- อุปลักษณ์  คือการเน้นความหมายว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งมาก จนเหมือนกับเป็นสิ่งเดียวกัน โดยมีคำเปรียบ เป็น คือ เท่า ปรากฏในข้อความ
  
- บุคคลวัต คือ การสมมุติสิ่งต่างๆให้มีกริยาอาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์
+
:- บุคคลวัต คือ การสมมุติสิ่งต่างๆให้มีกริยาอาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์
  
- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อเน้นข้อความนั้นให้มีน้ำหนักยิ่งขึ้น บางครั้งอาจใช้คำกล่าวน้อยกว่าจริงเรียกว่า อวพจน์
+
:- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อเน้นข้อความนั้นให้มีน้ำหนักยิ่งขึ้น บางครั้งอาจใช้คำกล่าวน้อยกว่าจริงเรียกว่า อวพจน์
  
-ปฏิพากย์  หรือ ปรพากย์  คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น
+
:-ปฏิพากย์  หรือ ปรพากย์  คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น
  
-สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน  ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป     
+
:-สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน  ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป     
  
-นามนัย  คือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง  คล้ายๆสัญลักษณ์   แต่ต่างกันตรงที่  นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว  ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด 
+
:-นามนัย  คือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง  คล้ายๆสัญลักษณ์   แต่ต่างกันตรงที่  นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว  ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด 
  
-สัทพจน์  หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ  เช่น  เสียงดนตรี    เสียงสัตว์   เสียงคลื่น    เสียงลม   เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ  การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
+
:-สัทพจน์  หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ  เช่น  เสียงดนตรี    เสียงสัตว์   เสียงคลื่น    เสียงลม   เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ  การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:09, 19 กันยายน 2562


55.jpg


    คุณค่าทางวรรณศิลป์

ตามพจนานุกรรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ว่า  วรรณศิลป์ หมายถึง “ศิลปะในการแต่งหนังสือ,ศิลปะทางวรรณกรรม,วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี,หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี

การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ต้องศึกษาตั้งแต่การเลือกชนิดคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน การรู้จักตกแต่งถ้อยคำให้ไพเราะสละสลวยอันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวี และทำให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์   ภาษากวีเพื่อสร้างความงดงามไพเราะแก่บทร้อยแก้วหรือร้อยกรองนั้น มีหลักสำคัญที่เกี่ยวข้องกัน ๓ ด้าน ดังนี้

    การสรรคำ  

การสรรคำ คือ   การเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคำประพันธ์ การสรรคำทำได้ดังนี้

- การเลือกคำให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
- การใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
- การเลือกใช้คำพ้องเสียง คำซ้ำ
- การเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียงสัมผัส
- การเลือกใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ
- การเลือกใช้คำไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย
    การเรียบเรียงคำ

การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธีเช่น

- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น
- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญน้อยไปหามาก แต่กลับหักมุมความคิดผู้อ่านเมื่อถึงจุดสุดขั้น
- จัดลำดับคำให้เป็นคำถามแต่ไม่ต้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยู่ในตัวคำถามแล้ว
- เรียงถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข้ามเพื่อเจตนาเยาะเย้ย ถากถาง
- เรียงคำวลี ประโยค ที่มีความสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป
    การใช้โวหาร

การใช้โวหาร คือการใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพเรียกว่า “ภาพพจน์” ซึ่งมีหลายวิธี ได้แก่

- อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคำเปรียบปรากฏอยู่ด้วย คำเปรียบเทียบเหล่านี้ได้แก่ เหมือน เสมือน ดุจ เล่ห์ เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
- อุปลักษณ์  คือการเน้นความหมายว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งมาก จนเหมือนกับเป็นสิ่งเดียวกัน โดยมีคำเปรียบ เป็น คือ เท่า ปรากฏในข้อความ
- บุคคลวัต คือ การสมมุติสิ่งต่างๆให้มีกริยาอาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์
- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อเน้นข้อความนั้นให้มีน้ำหนักยิ่งขึ้น บางครั้งอาจใช้คำกล่าวน้อยกว่าจริงเรียกว่า อวพจน์
-ปฏิพากย์  หรือ ปรพากย์  คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น
-สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน  ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป     
-นามนัย  คือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง  คล้ายๆสัญลักษณ์   แต่ต่างกันตรงที่  นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว  ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด 
-สัทพจน์  หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ  เช่น  เสียงดนตรี    เสียงสัตว์   เสียงคลื่น    เสียงลม   เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ  การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ