ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลักษณะวัฒนธรรมไทย"

จาก wikipedia
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย " ลักษณะของวัฒนธรรมไทย1      วัฒนธรรมไทยมาจากแหล่งที่มาท...")
 
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 1: แถว 1:
  
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย1
+
[[ไฟล์:Cult.jpeg|720px|center]]
     วัฒนธรรมไทยมาจากแหล่งที่มาที่ต่างกันและเกิดการหล่อหลอมกันขึ้น  จนเป็นวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ  ในที่นี้จะขอกล่าวถึงลักษณะที่สำคัญของวัฒนธรรมไทย  ดังนี้
 
  
1.  เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม  คนไทยมีความเกี่ยวข้องกับน้ำ  ผู้คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ทำการเพาะปลูก  เลี้ยงสัตว์  ดังนั้นวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตส่วนใหญ่จึงมักเกี่ยวกับน้ำและการเกษตร  เช่น  ประเพณีการทำขวัญข้าว  หรือประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว  ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปตามชนบท  เป็นต้น
 
  
2.  เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือการกุศล  คนไทยนิยมทำบุญในงานเทศกาลต่าง ๆ เพื่อเป็นสิริมงคลและเพื่ออุทิศบุญกุศลให้ญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว  ดังนั้นจึงสังเกตเห็นได้ว่างานพิธีมงคลหรืออวมงคลไทย  มักจะมีการทำบุญเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของงานพิธีเหล่านั้นด้วย
+
    '''ลักษณะของวัฒนธรรมไทย'''
 +
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมาจากแหล่งที่มาที่ต่างกันและเกิดการหล่อหลอมกันขึ้น  จนเป็นวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ  ในที่นี้จะขอกล่าวถึงลักษณะที่สำคัญของวัฒนธรรมไทย  ดังนี้
  
3เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือเครือญาติ  สังคมไทยมีความสัมพันธ์กันโดยยึดหลักอาวุโส  คนที่มีอายุน้อยกว่าจะให้ความเคารพผู้ที่มีอายุมากกว่าหรืออาวุโสกว่า  เพราะถือว่าผู้อาวุโสเป็นผู้ที่สูงด้วยประสบการณ์  พบเห็นเรื่องราวในชีวิตมาก่อนผู้ที่มีอายุน้อย  การเข้าหาและพูดคุยกับท่านเหล่านั้นจะทำให้ได้รับประสบการณ์ที่ดี  แล้วนำมาปรับใช้ในชีวิตได้  ดังสุภาษิตของไทยประโยคหนึ่งว่า  "เดินตามหลังผู้ใหญ่  สุนัขไม่กัด"
+
:1เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม  คนไทยมีความเกี่ยวข้องกับน้ำ  ผู้คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ทำการเพาะปลูก  เลี้ยงสัตว์  ดังนั้นวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตส่วนใหญ่จึงมักเกี่ยวกับน้ำและการเกษตร  เช่น  ประเพณีการทำขวัญข้าว  หรือประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว  ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปตามชนบท  เป็นต้น
  
4เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือพิธีกรรม  มีขั้นตอนในการประกอบพิธีตามความเชื่อและมุ่งหวังความมีหน้ามีตาในการจัดงาน  เช่น  การแต่งงาน  โดยส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะมีพิธีกรรมมากมาย  ตั้งแต่การแห่ขันหมากมาสู่ขอ  การรดน้ำสังข์อวยพรคู่บ่าวสาวและจัดงานเลี้ยงฉลองสมรสโดยเชิญญาติพี่น้อง  เพื่อนฝูงของเจ้าบ่าวเจ้าสาวมาร่วมเป็นเกียรติในงาน  เป็นต้น
+
:2เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือการกุศล  คนไทยนิยมทำบุญในงานเทศกาลต่าง ๆ เพื่อเป็นสิริมงคลและเพื่ออุทิศบุญกุศลให้ญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว  ดังนั้นจึงสังเกตเห็นได้ว่างานพิธีมงคลหรืออวมงคลไทย  มักจะมีการทำบุญเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของงานพิธีเหล่านั้นด้วย
  
5เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน  กิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยส่วนใหญ่จะมีการสอดแทรกความสนุกสนานไว้ด้วยเสมอ  มีการร้อง รำ ทำเพลง  จนเกิดเป็นเพลงฉ่อย  เป็นต้น  ซึ่งถือว่าเป็นการละเล่นเพื่อผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยหลังเสร็จสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว
+
:3เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือเครือญาติ  สังคมไทยมีความสัมพันธ์กันโดยยึดหลักอาวุโส  คนที่มีอายุน้อยกว่าจะให้ความเคารพผู้ที่มีอายุมากกว่าหรืออาวุโสกว่า  เพราะถือว่าผู้อาวุโสเป็นผู้ที่สูงด้วยประสบการณ์  พบเห็นเรื่องราวในชีวิตมาก่อนผู้ที่มีอายุน้อย  การเข้าหาและพูดคุยกับท่านเหล่านั้นจะทำให้ได้รับประสบการณ์ที่ดี  แล้วนำมาปรับใช้ในชีวิตได้  ดังสุภาษิตของไทยประโยคหนึ่งว่า  "เดินตามหลังผู้ใหญ่  สุนัขไม่กัด"
  
6.  เป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสาน  วัฒนธรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้รับการผสมผสานมาจากการเผยแพร่ทางวัฒนธรรมของสังคมอื่น  เช่น  ศาสนาพราหมณ์เป็นที่มาของประเพณีต่าง ๆ ซึ่งได้รับการปฏิบัติสืบทอดในสังคม  เช่น  พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ  การตั้งศาลพระภูมิ  เป็นต้น  นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมตะวันตกที่กำลังเข้ามามีอิทธิพลมากในสังคมไทย  เช่น  ด้านเทคโนโลยี  การแต่งกาย  และอาหาร  เป็นต้น
+
:4.  เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือพิธีกรรม  มีขั้นตอนในการประกอบพิธีตามความเชื่อและมุ่งหวังความมีหน้ามีตาในการจัดงาน  เช่น  การแต่งงาน  โดยส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะมีพิธีกรรมมากมาย  ตั้งแต่การแห่ขันหมากมาสู่ขอ  การรดน้ำสังข์อวยพรคู่บ่าวสาวและจัดงานเลี้ยงฉลองสมรสโดยเชิญญาติพี่น้อง  เพื่อนฝูงของเจ้าบ่าวเจ้าสาวมาร่วมเป็นเกียรติในงาน  เป็นต้น
 +
 
 +
:5.  เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน  กิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยส่วนใหญ่จะมีการสอดแทรกความสนุกสนานไว้ด้วยเสมอ  มีการร้อง รำ ทำเพลง  จนเกิดเป็นเพลงฉ่อย  เป็นต้น  ซึ่งถือว่าเป็นการละเล่นเพื่อผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยหลังเสร็จสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว
 +
 
 +
:6.  เป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสาน  วัฒนธรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้รับการผสมผสานมาจากการเผยแพร่ทางวัฒนธรรมของสังคมอื่น  เช่น  ศาสนาพราหมณ์เป็นที่มาของประเพณีต่าง ๆ ซึ่งได้รับการปฏิบัติสืบทอดในสังคม  เช่น  พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ  การตั้งศาลพระภูมิ  เป็นต้น  นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมตะวันตกที่กำลังเข้ามามีอิทธิพลมากในสังคมไทย  เช่น  ด้านเทคโนโลยี  การแต่งกาย  และอาหาร  เป็นต้น

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:12, 13 กันยายน 2562

Cult.jpeg


    ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

ลักษณะของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมาจากแหล่งที่มาที่ต่างกันและเกิดการหล่อหลอมกันขึ้น  จนเป็นวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ  ในที่นี้จะขอกล่าวถึงลักษณะที่สำคัญของวัฒนธรรมไทย  ดังนี้

1.  เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม  คนไทยมีความเกี่ยวข้องกับน้ำ  ผู้คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ทำการเพาะปลูก  เลี้ยงสัตว์  ดังนั้นวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตส่วนใหญ่จึงมักเกี่ยวกับน้ำและการเกษตร  เช่น  ประเพณีการทำขวัญข้าว  หรือประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าว  ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปตามชนบท  เป็นต้น
2.  เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือการกุศล  คนไทยนิยมทำบุญในงานเทศกาลต่าง ๆ เพื่อเป็นสิริมงคลและเพื่ออุทิศบุญกุศลให้ญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว  ดังนั้นจึงสังเกตเห็นได้ว่างานพิธีมงคลหรืออวมงคลไทย  มักจะมีการทำบุญเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของงานพิธีเหล่านั้นด้วย
3.  เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือเครือญาติ  สังคมไทยมีความสัมพันธ์กันโดยยึดหลักอาวุโส  คนที่มีอายุน้อยกว่าจะให้ความเคารพผู้ที่มีอายุมากกว่าหรืออาวุโสกว่า  เพราะถือว่าผู้อาวุโสเป็นผู้ที่สูงด้วยประสบการณ์  พบเห็นเรื่องราวในชีวิตมาก่อนผู้ที่มีอายุน้อย  การเข้าหาและพูดคุยกับท่านเหล่านั้นจะทำให้ได้รับประสบการณ์ที่ดี  แล้วนำมาปรับใช้ในชีวิตได้  ดังสุภาษิตของไทยประโยคหนึ่งว่า  "เดินตามหลังผู้ใหญ่  สุนัขไม่กัด"
4.  เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือพิธีกรรม  มีขั้นตอนในการประกอบพิธีตามความเชื่อและมุ่งหวังความมีหน้ามีตาในการจัดงาน  เช่น  การแต่งงาน  โดยส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะมีพิธีกรรมมากมาย  ตั้งแต่การแห่ขันหมากมาสู่ขอ  การรดน้ำสังข์อวยพรคู่บ่าวสาวและจัดงานเลี้ยงฉลองสมรสโดยเชิญญาติพี่น้อง  เพื่อนฝูงของเจ้าบ่าวเจ้าสาวมาร่วมเป็นเกียรติในงาน  เป็นต้น
5.  เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน  กิจกรรมต่าง ๆ ของสังคมไทยส่วนใหญ่จะมีการสอดแทรกความสนุกสนานไว้ด้วยเสมอ  มีการร้อง รำ ทำเพลง  จนเกิดเป็นเพลงฉ่อย  เป็นต้น  ซึ่งถือว่าเป็นการละเล่นเพื่อผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยหลังเสร็จสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว
6.  เป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสาน  วัฒนธรรมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้รับการผสมผสานมาจากการเผยแพร่ทางวัฒนธรรมของสังคมอื่น  เช่น  ศาสนาพราหมณ์เป็นที่มาของประเพณีต่าง ๆ ซึ่งได้รับการปฏิบัติสืบทอดในสังคม  เช่น  พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ  การตั้งศาลพระภูมิ  เป็นต้น  นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมตะวันตกที่กำลังเข้ามามีอิทธิพลมากในสังคมไทย  เช่น  ด้านเทคโนโลยี  การแต่งกาย  และอาหาร  เป็นต้น