ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ"

จาก wikipedia
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "==วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ== เป็นรากฐานข...")
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 
 
 
==วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ==
 
==วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ==
  
[[ไฟล์:1.png|thumb|right|''วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ'']] เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน
+
    เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ   ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน [[ไฟล์:1.png|thumb|right]]
 
 
 
 
==๒๔๘๑==
 
 
 
[[ไฟล์:2.png|thumb|left|๒๔๘๑]]
 
    ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ จัดตั้งกองวัฒนธรรม สังกัดกรมศิลปากร เริ่มต้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๑ มีการตั้งกองวัฒนธรรม ในสังกัดกรมศิลปากร ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๘๓ มีพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ กำหนดความหมายของวัฒนธรรมว่า หมายถึงลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน
 
 
 
==๒๔๘๓==
 
 
 
[[ไฟล์:3.png|thumb|right|๒๔๘๓]]พระราชบัญญัติฉบับนี้มีสาระสำคัญ คือ กำหนดความหมายของ "วัฒนธรรม” หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงามความเป็นระเบียบอันดีงาน ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน และกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามวัฒนธรรมแห่งชาติ ต้องผุดงส่งเสริมความก้าวหน้าของชาติไทย โดยรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมตามประเพณีที่ดีและช่วยกันปรับปรุงบำรุงให้ดียิ่งขึ้นตามกาลสมัย
 
 
 
==๒๔๘๕==
 
 
 
[[ไฟล์:4.png|thumb|left|๒๔๘๕]]
 
    พระราชบัญญัติฉบับนี้ ยกเลิกพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๘๓ และ ๒๔๘๕ โดยกำหนดให้จัดตั้ง "สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ” มีหน้าที่ดังนี้ ๑) ค้นคว้า ดัดแปลง รักษา และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งชาติที่มีอยู่ ๒) คันคว้า ดักแปลง และกำหนดวัฒนธรรมที่ควรรับไว้หรือปรับปรุงต่อไป ๓) เผยแพร่วัฒนธรรมแห่งชาติให้เหมาะสมกับกาลสมัย ๔) ควบคุมและหาวิธีปลูกฝังวัฒนธรรมแห่งชาติในจิตใจของประชาชนจนเป็นนิสัย ๕) ให้ความเห็น รับปรึกษาและปฏิบัติการตามความมุ่งหมายของรัฐบาลในกิจกรรมอันเกี่ยวกับวันธรรมแห่งชาติ โดยกำหนดให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็น ๔ สำนัก คือ สำนักวัฒนธรรมทางจิตใจ สำนักวัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี สำนักวัฒนธรรมทางศิลปกรรม และสำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
 

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:03, 24 กันยายน 2562

วัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ

เป็นรากฐานของการสร้างสรรค์ความสามัคคี และความมั่นคงของประเทศชาติประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรือง ปรากฏเป็นเอกลักษณ์ อันโดดเด่นของชาติ ประกอบด้วย ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม นาฏศิลป์ ดนตรี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผน และวิถีชีวิตอันดีงามที่สืบทอดมา ถึงปัจจุบัน

1.png