ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาวรรณศิลป์"
Admin (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "ภาษาวรรณศิลป์คืออะไร *วรรณศิลป์ คือ ศิลปะในการแต่งหน...") |
M150 (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | + | ||
− | หมายถึงการตกแต่งถ้อยคำให้ เหมาะเจาะเพริศพริ้งในแง่ต่าง | + | [[ไฟล์:Soontorn.jpg|center|320px]] |
− | + | ||
− | + | ||
− | + | ''' ภาษาวรรณศิลป์''' | |
+ | 1. ภาษาวรรณศิลป์คืออะไร วรรณศิลป์ คือ ศิลปะในการแต่งหนังสือ ภาษาวรรณศิลป์ หมายถึง ภาษาที่เป็นศิลปะ ใช้ในการแต่งหนังสือ เป็นความงามทางการประพันธ์โดยเฉพาะ | ||
+ | |||
+ | 2. ความไพเราะตามแบบวรรณศิลป์คืออย่างไร ความไพเราะตามแบบวรรณศิลป์อาจจะจำแนกได้หลายแบบแต่ที่นับว่าสำคัญควรกล่าวถึงคือ | ||
+ | |||
+ | :1. ไพเราะด้วยเสียงสัมผัสของคำ ได้แก่ | ||
+ | |||
+ | ::1.1 เสียงพยัญชนะสัมผัส หมายถึง ใช้พยัญชนะเสียงเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน วางเรียงติดกันหรือใกล้เคียงกัน | ||
+ | |||
+ | ::1.2 เสียงสระสัมผัส คือ เล่นเสียงสระเสียงเดียวกันสัมผัสกันนอกจากสัมผัสนอกอันเป็นสัมผัสบังคับแล้วสัมผัสในต่ละวรรคจะช่วยเพิ่มความไพเราะยิ่งขึ้น | ||
+ | |||
+ | ::1.3เสียงวรรณยุกต์สัมผัส (การเล่นเสียงวรรณยุกต์) คือการเล่นเสียงวรรณยุกต์ระดับต่างๆ ติดๆกัน | ||
+ | |||
+ | :2 . ไพเราะด้วยความหมาย คือ มีความหมายซาบซึ้ง | ||
+ | |||
+ | :3 . อลังการทางภาษา อลังการ แปลว่า การตกแต่งหรือการประดับประดา หมายถึงการตกแต่งถ้อยคำให้ เหมาะเจาะเพริศพริ้งในแง่ต่าง ๆเพื่อความไพเราะทางภาษา การประดับประดาดังกล่าวนี้มีหลายแบบที่นับว่าสำคัญ และจำเป็นต้องใช้ในการสร้างภาษาวรรณศิลป์ก็คือ | ||
+ | |||
+ | ::3.1 การสร้างจินตภาพ ได้แก่ การใช้ถ้อยคำที่เด่นทั้งเสียง | ||
และความหมายในการแต่งข้อความจนทำให้เห็นภาพเด่นชัดในจินตนาการ | และความหมายในการแต่งข้อความจนทำให้เห็นภาพเด่นชัดในจินตนาการ | ||
ทั้งนี้โดยไม่ต้องอาศัยการเปรียบเทียบ เป็นเครื่องช่วยเหลือแต่ประการใด | ทั้งนี้โดยไม่ต้องอาศัยการเปรียบเทียบ เป็นเครื่องช่วยเหลือแต่ประการใด | ||
ตัวอย่างเช่น | ตัวอย่างเช่น | ||
− | ก. โอเวลาป่านฉะนี้ก็สายัณห์ คนทั้งหลายเขาเรียกกิน | + | |
+ | :::ก. โอเวลาป่านฉะนี้ก็สายัณห์ คนทั้งหลายเขาเรียกกิน | ||
อาหารบ้างก็เล้าโลมลูกหลานให้ อาบน้ำแล้วหลับนอน แต่สองบังอร | อาหารบ้างก็เล้าโลมลูกหลานให้ อาบน้ำแล้วหลับนอน แต่สองบังอร | ||
ของพ่อนี้ใครเขาจะปรานีให้นมน้ำ ก็จะตรากตรำลำบากใจที่ไหน | ของพ่อนี้ใครเขาจะปรานีให้นมน้ำ ก็จะตรากตรำลำบากใจที่ไหน | ||
แถว 41: | แถว 32: | ||
จะชอกช้ำคล้ำเป็นหนองลงลามไหล | จะชอกช้ำคล้ำเป็นหนองลงลามไหล | ||
− | + | :::ข. เสียงนกกรวิกนั้นไซร์ แลมีเสียงอันไพเราะมากถูกเนื้อ | |
พึงใจฝูงสัตว์ทั้งหลาย แม้ว่าเสือจะเอาเนื้อไปกินก็ดี ครั้งว่าได้ยินเสียง | พึงใจฝูงสัตว์ทั้งหลาย แม้ว่าเสือจะเอาเนื้อไปกินก็ดี ครั้งว่าได้ยินเสียง | ||
นกกรวิกนั้นร้อง ก็ลืมเสีย แลมิอาจเอาเนื้อไปกินได้เลย แลเม้นว่าเด็กอัน | นกกรวิกนั้นร้อง ก็ลืมเสีย แลมิอาจเอาเนื้อไปกินได้เลย แลเม้นว่าเด็กอัน | ||
แถว 49: | แถว 40: | ||
ก็บมิรู้สึกที่ว่าจะว่ายไปได้เลย แลว่าเสียงแห่งนกกรวิก | ก็บมิรู้สึกที่ว่าจะว่ายไปได้เลย แลว่าเสียงแห่งนกกรวิก | ||
นั้นมันเพราะหนักหนา | นั้นมันเพราะหนักหนา | ||
− | 3.2 การสร้างภาพพจน์ (Figvres of Speech) | + | |
+ | ::3.2 การสร้างภาพพจน์ (Figvres of Speech) | ||
ได้แก่การใช้ถอยคำบรรยายหรือพรรณนาอย่างแจ่มแจ้ง | ได้แก่การใช้ถอยคำบรรยายหรือพรรณนาอย่างแจ่มแจ้ง | ||
จนกระทั่งอ่านหรือฟังแล้วและเห็นเป็นภาพเด่นชัด ทั้งนี้โดยอาศัย | จนกระทั่งอ่านหรือฟังแล้วและเห็นเป็นภาพเด่นชัด ทั้งนี้โดยอาศัย | ||
การเปรียบเทียบแบบต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วยในการเปรียบเทียบมีหลาย | การเปรียบเทียบแบบต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วยในการเปรียบเทียบมีหลาย | ||
แบบที่นับว่าใช้กันแพร่หลาย เช่น | แบบที่นับว่าใช้กันแพร่หลาย เช่น | ||
− | 3.2.1 การเปรียบเทียบอุปมา คือ การนำสิ่งหนึ่งที่รู้จัก | + | |
+ | :::3.2.1 การเปรียบเทียบอุปมา คือ การนำสิ่งหนึ่งที่รู้จัก | ||
กันดีแล้วมาเป็นเครื่องเปรียบเทียบกับอีกสิ่งหนึ่ง เพื่อให้เห็นภาพชัดหรือ | กันดีแล้วมาเป็นเครื่องเปรียบเทียบกับอีกสิ่งหนึ่ง เพื่อให้เห็นภาพชัดหรือ | ||
เข้าใจดียิ่งขึ้นการเปรียบเทียบแบบนี้มีหลักอยู่ว่าจะต้องมีตัวเชื่อมคือ | เข้าใจดียิ่งขึ้นการเปรียบเทียบแบบนี้มีหลักอยู่ว่าจะต้องมีตัวเชื่อมคือ | ||
แถว 61: | แถว 54: | ||
ดุจดัง ประดุจ เสมอ เสมอด้วย เสมือน เสมือนหนึ่ง ปาน | ดุจดัง ประดุจ เสมอ เสมอด้วย เสมือน เสมือนหนึ่ง ปาน | ||
ปิ้มบ่าน ปานหนึ่ง พ่าง พ่างเพียง เปรียบ ฯลฯ | ปิ้มบ่าน ปานหนึ่ง พ่าง พ่างเพียง เปรียบ ฯลฯ | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | + | :::3.2.2 การเปรียบเทียบแบบอุปลักษณ์ | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
ได้แก่การเปรียบเทียบตรง ๆ โดยใช้คำกริยา “เป็น” “หรือ” คือ | ได้แก่การเปรียบเทียบตรง ๆ โดยใช้คำกริยา “เป็น” “หรือ” คือ | ||
− | + | นำหน้าคำหรือข้อความที่จะนำมาเปรียบ | |
− | + | :::3.2.3 การเปรียบเทียบแบบเกินความจริง (โวหารอธิพจน์) | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | 3.2.3 การเปรียบเทียบแบบเกินความจริง (โวหารอธิพจน์) | ||
เป็นการพรรณนาที่เกินขอบเขตของความจริง อาจจะเป็นไปไม่ได้หรือไม่มี | เป็นการพรรณนาที่เกินขอบเขตของความจริง อาจจะเป็นไปไม่ได้หรือไม่มี | ||
ทางจะเป็นไปได้แต่แม้กระนั้นก็น่าฟังเพราะทำให้เกิดความซาบซึ้งประทับใจ | ทางจะเป็นไปได้แต่แม้กระนั้นก็น่าฟังเพราะทำให้เกิดความซาบซึ้งประทับใจ | ||
− | + | ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าไม่เป็นจริง | |
− | + | ||
− | + | :::3.2.4 บุคคลรัต คือ ภาพพจน์ที่เกิดจากการเปรียบเทียบ | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
โดยนำสิ่งที่ไม่มีชีวิตมากกล่าวให้มีกริยาอาการเหมือนคน เช่น ทะเลไม่เคยหลับ | โดยนำสิ่งที่ไม่มีชีวิตมากกล่าวให้มีกริยาอาการเหมือนคน เช่น ทะเลไม่เคยหลับ | ||
หยาดน้ำค้างเต้นระบำ เสียงกระซิบจากเกลียวคลื่น | หยาดน้ำค้างเต้นระบำ เสียงกระซิบจากเกลียวคลื่น | ||
− | + | ||
+ | :::3.2.5 การใช้ภาษาสัญญลักษณ์ หมายถึง การนำคำหนึ่งมา | ||
ใช้แทนอีกคำหนึ่ง โดยถือว่าคำที่นำมาใช้แทนนั้น ต้องมีลักษณะเป็นเครื่องหมาย | ใช้แทนอีกคำหนึ่ง โดยถือว่าคำที่นำมาใช้แทนนั้น ต้องมีลักษณะเป็นเครื่องหมาย | ||
หรือสัญญลักษณ์ที่รู้จักและเข้าใจความหมายกันในอย่างด ีเช่น ฉัตรเป็น | หรือสัญญลักษณ์ที่รู้จักและเข้าใจความหมายกันในอย่างด ีเช่น ฉัตรเป็น | ||
สัญญลักษณ์ของความเป็นใหญ่ หรือดวงใจ เป็นสัญญลักษณ์ของสิ่งอันเป็น | สัญญลักษณ์ของความเป็นใหญ่ หรือดวงใจ เป็นสัญญลักษณ์ของสิ่งอันเป็น | ||
ที่รักอย่างยิ่งดังนี้ เป็นต้น | ที่รักอย่างยิ่งดังนี้ เป็นต้น | ||
− | (ก) ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราชย์ เยียววิวาทชิงฉัตร | + | ::::(ก) ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราชย์ เยียววิวาทชิงฉัตร |
− | (ข) | + | ::::(ข) โอ้ว่าดวงใจอยู่ไกลลิบ เหลือจะหยิบมาชมภิรมย์ขวัญ |
− | (ค) น้าวมกุฎมานบ น้อมพิภพมานอบ | + | ::::(ค) น้าวมกุฎมานบ น้อมพิภพมานอบ มอบบัวบาทวิบุล |
− | + | ||
− | + | :::3.2.6 สัทพจน์ คือ การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ | |
− | ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ | + | |
− | + | :::3.2.7 อัพภาส คือ การกร่อนคำซ้ำให้พยางค์หน้าเหลือเพียงสระอะ เช่น ระริก ระริก | |
− | ระริก ระริก | + | |
− | + | :::3.2.8 ปฏิพากย์ คือ การใช้คำตรงกันข้าม เช่น “เสียงน้ำกระซิบสาดปราศจากเสียง ลมหนาวพัดอ้าวจนหนาวเหน็บเจ็บกระดูก” | |
− | + | ||
− | 3.2.9 คำถามเชิงวาทศิลป์ | + | :::3.2.9 คำถามเชิงวาทศิลป์ |
− | - คำถาม ไม่ต้องการคำตอบ | + | ::::- คำถาม ไม่ต้องการคำตอบ |
− | - ศรีสุวรรณมิใช้อาของเจ้าหรือ | + | ::::- ศรีสุวรรณมิใช้อาของเจ้าหรือ |
− | - วันนี้เรียนภาษาไทยไม่ใช่หรือ | + | ::::- วันนี้เรียนภาษาไทยไม่ใช่หรือ |
− | - วันนี้เรียนพละมิใช่หรือ | + | ::::- วันนี้เรียนพละมิใช่หรือ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:04, 20 กันยายน 2562
ภาษาวรรณศิลป์
1. ภาษาวรรณศิลป์คืออะไร วรรณศิลป์ คือ ศิลปะในการแต่งหนังสือ ภาษาวรรณศิลป์ หมายถึง ภาษาที่เป็นศิลปะ ใช้ในการแต่งหนังสือ เป็นความงามทางการประพันธ์โดยเฉพาะ
2. ความไพเราะตามแบบวรรณศิลป์คืออย่างไร ความไพเราะตามแบบวรรณศิลป์อาจจะจำแนกได้หลายแบบแต่ที่นับว่าสำคัญควรกล่าวถึงคือ
- 1. ไพเราะด้วยเสียงสัมผัสของคำ ได้แก่
- 1.1 เสียงพยัญชนะสัมผัส หมายถึง ใช้พยัญชนะเสียงเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน วางเรียงติดกันหรือใกล้เคียงกัน
- 1.2 เสียงสระสัมผัส คือ เล่นเสียงสระเสียงเดียวกันสัมผัสกันนอกจากสัมผัสนอกอันเป็นสัมผัสบังคับแล้วสัมผัสในต่ละวรรคจะช่วยเพิ่มความไพเราะยิ่งขึ้น
- 1.3เสียงวรรณยุกต์สัมผัส (การเล่นเสียงวรรณยุกต์) คือการเล่นเสียงวรรณยุกต์ระดับต่างๆ ติดๆกัน
- 2 . ไพเราะด้วยความหมาย คือ มีความหมายซาบซึ้ง
- 3 . อลังการทางภาษา อลังการ แปลว่า การตกแต่งหรือการประดับประดา หมายถึงการตกแต่งถ้อยคำให้ เหมาะเจาะเพริศพริ้งในแง่ต่าง ๆเพื่อความไพเราะทางภาษา การประดับประดาดังกล่าวนี้มีหลายแบบที่นับว่าสำคัญ และจำเป็นต้องใช้ในการสร้างภาษาวรรณศิลป์ก็คือ
- 3.1 การสร้างจินตภาพ ได้แก่ การใช้ถ้อยคำที่เด่นทั้งเสียง
และความหมายในการแต่งข้อความจนทำให้เห็นภาพเด่นชัดในจินตนาการ ทั้งนี้โดยไม่ต้องอาศัยการเปรียบเทียบ เป็นเครื่องช่วยเหลือแต่ประการใด ตัวอย่างเช่น
- ก. โอเวลาป่านฉะนี้ก็สายัณห์ คนทั้งหลายเขาเรียกกิน
อาหารบ้างก็เล้าโลมลูกหลานให้ อาบน้ำแล้วหลับนอน แต่สองบังอร ของพ่อนี้ใครเขาจะปรานีให้นมน้ำ ก็จะตรากตรำลำบากใจที่ไหน จะเดินได้ด้วยพระบาทเปล่าทั้งไอแดดจะแผดเผาพุพอง จะชอกช้ำคล้ำเป็นหนองลงลามไหล
- ข. เสียงนกกรวิกนั้นไซร์ แลมีเสียงอันไพเราะมากถูกเนื้อ
พึงใจฝูงสัตว์ทั้งหลาย แม้ว่าเสือจะเอาเนื้อไปกินก็ดี ครั้งว่าได้ยินเสียง นกกรวิกนั้นร้อง ก็ลืมเสีย แลมิอาจเอาเนื้อไปกินได้เลย แลเม้นว่าเด็กอัน ท่านใส่ตีแลแล่นหนี ครั้นว่าได้ยินเสียงนกนั้นร้องก็บมีรู้สึกที่จักแล่นหนี ได้เลย แลว่านกทั้งหลายอันที่บินไปบนอากาศครั้งว่าได้ยินเสียงแห่ง นกกรวิกก็บมีรู้สึกที่จะบินไป ปลาในน้ำก็ดี ครั้นว่าได้ยินเสียงนกนั้นร้อง ก็บมิรู้สึกที่ว่าจะว่ายไปได้เลย แลว่าเสียงแห่งนกกรวิก นั้นมันเพราะหนักหนา
- 3.2 การสร้างภาพพจน์ (Figvres of Speech)
ได้แก่การใช้ถอยคำบรรยายหรือพรรณนาอย่างแจ่มแจ้ง จนกระทั่งอ่านหรือฟังแล้วและเห็นเป็นภาพเด่นชัด ทั้งนี้โดยอาศัย การเปรียบเทียบแบบต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วยในการเปรียบเทียบมีหลาย แบบที่นับว่าใช้กันแพร่หลาย เช่น
- 3.2.1 การเปรียบเทียบอุปมา คือ การนำสิ่งหนึ่งที่รู้จัก
กันดีแล้วมาเป็นเครื่องเปรียบเทียบกับอีกสิ่งหนึ่ง เพื่อให้เห็นภาพชัดหรือ เข้าใจดียิ่งขึ้นการเปรียบเทียบแบบนี้มีหลักอยู่ว่าจะต้องมีตัวเชื่อมคือ บุพบทหรือสันธานอยู่เสมอ ได้แก่คำว่า เหมือน ดัง ราว ราวกับเพียง เพียง ดัง ปิ้ม ปิ้ม่า เฉกเช่น ฉัน เฉกเช่น ประหนึ่ง ประหนึ่งว่า ดุจ ดุจดัง ประดุจ เสมอ เสมอด้วย เสมือน เสมือนหนึ่ง ปาน ปิ้มบ่าน ปานหนึ่ง พ่าง พ่างเพียง เปรียบ ฯลฯ
- 3.2.2 การเปรียบเทียบแบบอุปลักษณ์
ได้แก่การเปรียบเทียบตรง ๆ โดยใช้คำกริยา “เป็น” “หรือ” คือ นำหน้าคำหรือข้อความที่จะนำมาเปรียบ
- 3.2.3 การเปรียบเทียบแบบเกินความจริง (โวหารอธิพจน์)
เป็นการพรรณนาที่เกินขอบเขตของความจริง อาจจะเป็นไปไม่ได้หรือไม่มี ทางจะเป็นไปได้แต่แม้กระนั้นก็น่าฟังเพราะทำให้เกิดความซาบซึ้งประทับใจ ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าไม่เป็นจริง
- 3.2.4 บุคคลรัต คือ ภาพพจน์ที่เกิดจากการเปรียบเทียบ
โดยนำสิ่งที่ไม่มีชีวิตมากกล่าวให้มีกริยาอาการเหมือนคน เช่น ทะเลไม่เคยหลับ หยาดน้ำค้างเต้นระบำ เสียงกระซิบจากเกลียวคลื่น
- 3.2.5 การใช้ภาษาสัญญลักษณ์ หมายถึง การนำคำหนึ่งมา
ใช้แทนอีกคำหนึ่ง โดยถือว่าคำที่นำมาใช้แทนนั้น ต้องมีลักษณะเป็นเครื่องหมาย หรือสัญญลักษณ์ที่รู้จักและเข้าใจความหมายกันในอย่างด ีเช่น ฉัตรเป็น สัญญลักษณ์ของความเป็นใหญ่ หรือดวงใจ เป็นสัญญลักษณ์ของสิ่งอันเป็น ที่รักอย่างยิ่งดังนี้ เป็นต้น
- (ก) ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราชย์ เยียววิวาทชิงฉัตร
- (ข) โอ้ว่าดวงใจอยู่ไกลลิบ เหลือจะหยิบมาชมภิรมย์ขวัญ
- (ค) น้าวมกุฎมานบ น้อมพิภพมานอบ มอบบัวบาทวิบุล
- 3.2.6 สัทพจน์ คือ การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ
- 3.2.7 อัพภาส คือ การกร่อนคำซ้ำให้พยางค์หน้าเหลือเพียงสระอะ เช่น ระริก ระริก
- 3.2.8 ปฏิพากย์ คือ การใช้คำตรงกันข้าม เช่น “เสียงน้ำกระซิบสาดปราศจากเสียง ลมหนาวพัดอ้าวจนหนาวเหน็บเจ็บกระดูก”
- 3.2.9 คำถามเชิงวาทศิลป์
- - คำถาม ไม่ต้องการคำตอบ
- - ศรีสุวรรณมิใช้อาของเจ้าหรือ
- - วันนี้เรียนภาษาไทยไม่ใช่หรือ
- - วันนี้เรียนพละมิใช่หรือ
- 3.2.9 คำถามเชิงวาทศิลป์