ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหมายของวรรณศิลป์"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
M150 (คุย | มีส่วนร่วม) |
M150 (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | ความหมายของวรรณศิลป์ | + | '''ความหมายของวรรณศิลป์''' |
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ให้คำอธิบายความหมายของวรรณศิลป์ไว้ว่า คือศิลปะในการแต่งหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์ วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี วรรณศิลป์ หรือศิลปะในการแต่งหนังสือมีหลักใหญ่ ๆ 3 ประการ ได้แก่ สุนทรียรส ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องราวและความคิดของผู้เขียน และเนื้อหาของเรื่องทีมีคุณภาพ องค์ประกอบของวรรณศิลป์มี 6 ประการด้วยกัน ได้แก่ | พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ให้คำอธิบายความหมายของวรรณศิลป์ไว้ว่า คือศิลปะในการแต่งหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์ วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี วรรณศิลป์ หรือศิลปะในการแต่งหนังสือมีหลักใหญ่ ๆ 3 ประการ ได้แก่ สุนทรียรส ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องราวและความคิดของผู้เขียน และเนื้อหาของเรื่องทีมีคุณภาพ องค์ประกอบของวรรณศิลป์มี 6 ประการด้วยกัน ได้แก่ | ||
− | 1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) | + | :1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) |
− | 2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination) | + | :2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination) |
− | 3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication) | + | :3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication) |
− | 4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity) | + | :4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity) |
− | 5.กลวิวิธีในการเขียน(Technique) | + | :5.กลวิวิธีในการเขียน(Technique) |
− | 6.การจัดวางองค์ประกอบของเรื่อง ทิศทางของเรื่อง และสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่อง อย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording) | + | :6.การจัดวางองค์ประกอบของเรื่อง ทิศทางของเรื่อง และสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่อง อย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording) |
− | :ซึ่งขออธิบายโดยสังเขป ดังนี้ | + | ::ซึ่งขออธิบายโดยสังเขป ดังนี้ |
− | ::1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) เป็นเสมือนหัวใจของเรื่อง เพราะคนเราจะรับรู้และจดจำอารมณ์สะเทือนใจอย่างฝังใจ แม้ว่าบางครั้งอาจจะจำเรื่องราวทั้งหมดไม่ได้ก็ตาม อารมณ์สะเทือนใจมีได้ทั้งอารมณ์รัก อารมณ์แค้น อารมณ์สุข อารมณ์เศร้า หรือแม้แต่อารมณ์ขัน ตัวอย่างเช่นบทละครของเช็คสเปียร์จะมีอารมณ์สะเทือนใจสูงเสมอทั้งอารมณ์รัก อารมณ์เศร้า รวมทั้งจิตอารมณ์ด้านมืดของมนุษย์ เรื่องแต่งที่ขาดอารมณ์สะเทือนใจก็ไม่ต่างอะไรจากกร่างที่ขาดวิญญาณหรือกระดาษเปล่า | + | :::1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) เป็นเสมือนหัวใจของเรื่อง เพราะคนเราจะรับรู้และจดจำอารมณ์สะเทือนใจอย่างฝังใจ แม้ว่าบางครั้งอาจจะจำเรื่องราวทั้งหมดไม่ได้ก็ตาม อารมณ์สะเทือนใจมีได้ทั้งอารมณ์รัก อารมณ์แค้น อารมณ์สุข อารมณ์เศร้า หรือแม้แต่อารมณ์ขัน ตัวอย่างเช่นบทละครของเช็คสเปียร์จะมีอารมณ์สะเทือนใจสูงเสมอทั้งอารมณ์รัก อารมณ์เศร้า รวมทั้งจิตอารมณ์ด้านมืดของมนุษย์ เรื่องแต่งที่ขาดอารมณ์สะเทือนใจก็ไม่ต่างอะไรจากกร่างที่ขาดวิญญาณหรือกระดาษเปล่า |
− | ::2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination) เป็นเสมือนสมองของเรื่อง เราเรียนรู้เรื่องสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวากันมาแล้ว เรื่องที่ดีเปรียบเหมือนสมองสองซีกของมนุษย์ ซึ่งควรจะมีความสมดุลทั้งความคิดและจินตนาการ ความคิดเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การทดลอง และประสบการณ์ ส่วนจินตนการมาจากความรู้สึกนึกคิด ความฝัน และการสร้างภาพในมโนสำนึก แม้ว่าไอน์สไตน์จะเคยกล่าวว่าจินตนการมีความสำคัญกว่าความรู้ แต่สำหรับนักเขียน ทั้งความรู้ความคิด และจินตนาการ มีความสำคัญใกล้เคียงกันและเกื้อกูลกัน เรื่องที่มีแต่ความคิดโดยปราศจากจินตนาการจะแห้งแล้งไร้สีสัน ขณะเดียวกันเรื่องที่มีแต่จินตนาการโดยปราศจากความคิดก็จะฟุ้งฝันฟูฟ่องเหมือนฟองสบู่ | + | :::2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination) เป็นเสมือนสมองของเรื่อง เราเรียนรู้เรื่องสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวากันมาแล้ว เรื่องที่ดีเปรียบเหมือนสมองสองซีกของมนุษย์ ซึ่งควรจะมีความสมดุลทั้งความคิดและจินตนาการ ความคิดเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การทดลอง และประสบการณ์ ส่วนจินตนการมาจากความรู้สึกนึกคิด ความฝัน และการสร้างภาพในมโนสำนึก แม้ว่าไอน์สไตน์จะเคยกล่าวว่าจินตนการมีความสำคัญกว่าความรู้ แต่สำหรับนักเขียน ทั้งความรู้ความคิด และจินตนาการ มีความสำคัญใกล้เคียงกันและเกื้อกูลกัน เรื่องที่มีแต่ความคิดโดยปราศจากจินตนาการจะแห้งแล้งไร้สีสัน ขณะเดียวกันเรื่องที่มีแต่จินตนาการโดยปราศจากความคิดก็จะฟุ้งฝันฟูฟ่องเหมือนฟองสบู่ |
− | ::3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication) เปรียบเสมือนปากของเรื่อง เพราะการเขียน คือการนำสารจากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านความสามารถในการส่งสารจึงเป็นสิ่งสำคัญ ว่าผู้เขียนจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกันในเนื้อหาของสารหรือไม่ และจะทำให้ผู้อ่านคล้อยตาม เชื่อตาม และติดตามสารนั้นหรือไม่ การส่งสารที่ดีนั้นจะต้องเป็นเนื้อเดียวกัน ทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับ ไม่ทำให้เกิดช่องว่างหรือการตีความที่ผิดแผกไประหว่างการเดินทางของสารจากผู้เขียนถึงผู้อ่าน | + | :::3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication) เปรียบเสมือนปากของเรื่อง เพราะการเขียน คือการนำสารจากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านความสามารถในการส่งสารจึงเป็นสิ่งสำคัญ ว่าผู้เขียนจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกันในเนื้อหาของสารหรือไม่ และจะทำให้ผู้อ่านคล้อยตาม เชื่อตาม และติดตามสารนั้นหรือไม่ การส่งสารที่ดีนั้นจะต้องเป็นเนื้อเดียวกัน ทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับ ไม่ทำให้เกิดช่องว่างหรือการตีความที่ผิดแผกไประหว่างการเดินทางของสารจากผู้เขียนถึงผู้อ่าน ดังนั้น ผู้เขียนจึงต้องเปล่งสารอย่างชัดเจน และหาทางให้ผู้อ่านส่งเสียงสะท้อนกลับมา เรื่องที่ไประสบความสำเร็จมักจะเป็นเรื่องที่ทำให้ผู้อ่านตกอยู่ในวงสาร |
− | ดังนั้น ผู้เขียนจึงต้องเปล่งสารอย่างชัดเจน และหาทางให้ผู้อ่านส่งเสียงสะท้อนกลับมา เรื่องที่ไประสบความสำเร็จมักจะเป็นเรื่องที่ทำให้ผู้อ่านตกอยู่ในวงสาร | ||
− | ::4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity) เป็นเสมือนบุคลิกหรือลายนิ้วมือของผู้เขียน ซึ่งทำให้เรื่องของผู้เขียนคนนั้นมีความเป็นตัวของตัวเอง โดดเด่น และแตกต่างไปจากคนอื่น ๆ อัตลักษณ์ในการเขียนเป็นส่วนประกอบระหว่างตัวตนของผู้เขียน วิสัยทัศน์หรือทัศนคติของผู้เขียน สีลา รวมทั้งสำนวนโวหารและทักษะในการเขียน | + | :::4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity) เป็นเสมือนบุคลิกหรือลายนิ้วมือของผู้เขียน ซึ่งทำให้เรื่องของผู้เขียนคนนั้นมีความเป็นตัวของตัวเอง โดดเด่น และแตกต่างไปจากคนอื่น ๆ อัตลักษณ์ในการเขียนเป็นส่วนประกอบระหว่างตัวตนของผู้เขียน วิสัยทัศน์หรือทัศนคติของผู้เขียน สีลา รวมทั้งสำนวนโวหารและทักษะในการเขียน โดยทั่วไปแล้ว ผู้เขียนอาจจะต้องใช้เวลาในการสร้างอัตลักษณ์ หรือแสดงอัตลักษณ์ให้เป็นที่ปรากฏแก่ผู้อ่าน อย่างไรก็ตามอัตลักษณ์ต้องเป็นสิ่งที่แท้จริงมิใช่การแสร้งสร้าง เพราะไม่มีใครสามารถลวงหลอกทุกคนในทุกเวลา และที่สำคัญก็คือไม่มีใครสามารถหลอกตัวเองได้ตลอดกาล |
− | โดยทั่วไปแล้ว ผู้เขียนอาจจะต้องใช้เวลาในการสร้างอัตลักษณ์ หรือแสดงอัตลักษณ์ให้เป็นที่ปรากฏแก่ผู้อ่าน อย่างไรก็ตามอัตลักษณ์ต้องเป็นสิ่งที่แท้จริงมิใช่การแสร้งสร้าง เพราะไม่มีใครสามารถลวงหลอกทุกคนในทุกเวลา และที่สำคัญก็คือไม่มีใครสามารถหลอกตัวเองได้ตลอดกาล | ||
− | ::5.กลวิธีการเขียน (Technique) เป็นทั้งแขนขาและกลไกในการขับเคลื่อนความคิดและจินตนาการของผู้เขียนมาสู่ผู้อ่าน ผู้เขียนจะต้องสามารถนำรูปแบบ และเครื่องมือต่าง ๆ ในการเขียน มาใช้ได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่องรวมทั้งเป็นการเรียบเรียงเรื่องอย่างเป็นระบบ และลำเลียงเรื่องที่เรียบเรียงแล้วนั้นออกมาสู่ผู้อ่านด้วยรูปแบบที่น่าสนใจและชวนติดตาม | + | :::5.กลวิธีการเขียน (Technique) เป็นทั้งแขนขาและกลไกในการขับเคลื่อนความคิดและจินตนาการของผู้เขียนมาสู่ผู้อ่าน ผู้เขียนจะต้องสามารถนำรูปแบบ และเครื่องมือต่าง ๆ ในการเขียน มาใช้ได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่องรวมทั้งเป็นการเรียบเรียงเรื่องอย่างเป็นระบบ และลำเลียงเรื่องที่เรียบเรียงแล้วนั้นออกมาสู่ผู้อ่านด้วยรูปแบบที่น่าสนใจและชวนติดตาม เรื่องบางเรื่องที่ไม่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็มีกลวิธีการเขียนให้สนุกสนานน่าสนใจได้ แต่เรื่องบางเรื่องที่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็ขาดกลวีการเขียนจนทำให้กลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อได้เหมือนกัน เข้าทำนอง "อันถ้อยความเดียวกันสำคัญกล่าว" |
− | เรื่องบางเรื่องที่ไม่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็มีกลวิธีการเขียนให้สนุกสนานน่าสนใจได้ แต่เรื่องบางเรื่องที่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็ขาดกลวีการเขียนจนทำให้กลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อได้เหมือนกัน เข้าทำนอง "อันถ้อยความเดียวกันสำคัญกล่าว" | ||
− | ::6.การจัดวางองค์ประกอบ ทิศทางของเรื่องและสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่องอย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording) เป็นเสมือนหน้าตาของเรื่องทีต้องมีการตบแต่งให้สะสวย องค์ประกอบของเรื่องจะต้องมีการจัดวางอย่างเหมาะสม ไม่รกหรือโล่งจนเกินไป มีน้ำหนักและโทนของเรื่องที่กลมกลืน มีการสร้างตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ ซึ่งมีความลงตัว | + | :::6.การจัดวางองค์ประกอบ ทิศทางของเรื่องและสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่องอย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording) เป็นเสมือนหน้าตาของเรื่องทีต้องมีการตบแต่งให้สะสวย องค์ประกอบของเรื่องจะต้องมีการจัดวางอย่างเหมาะสม ไม่รกหรือโล่งจนเกินไป มีน้ำหนักและโทนของเรื่องที่กลมกลืน มีการสร้างตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ ซึ่งมีความลงตัว เรื่องที่ดีทุกเรื่องจะต้องมีทิศทางหรือแผนทาง (road map) เพื่อกำหนดเป้าหมายและควบคุมการเดินเรื่อง มิเช่นนั้นแล้วอาจทำให้หลงทางหรือออกนอกเรื่องไป ขณะเดียวกับทิศทางหรือแผนทางก็จะช่วยให้เรื่องมีความกระชับไม่เยิ่นเย้อ |
− | เรื่องที่ดีทุกเรื่องจะต้องมีทิศทางหรือแผนทาง (road map) เพื่อกำหนดเป้าหมายและควบคุมการเดินเรื่อง มิเช่นนั้นแล้วอาจทำให้หลงทางหรือออกนอกเรื่องไป ขณะเดียวกับทิศทางหรือแผนทางก็จะช่วยให้เรื่องมีความกระชับไม่เยิ่นเย้อ | ||
− | ::สำนวนภาษาเหมือนเครื่องปรุงที่จะปรุงรสอาหารแต่ละจานให้มีรสชาติกลมกล่อม และเหมาะกับอาหารชนิดนั้น ๆ เช่นเรื่องรักก็ควรใช้สำนวนภาษาที่อ่อนหวานซาบซึ้ง เรื่องบู๊ก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่รุนแรงดุดัน เรื่องสำหรับเด็กควรใช้สำนวนภาษาที่สื่อความหมายชัดเจนและเข้าใจง่าย หรือเรื่องตลกก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่เฮฮาสนุกสนาน เป็นต้น | + | :::สำนวนภาษาเหมือนเครื่องปรุงที่จะปรุงรสอาหารแต่ละจานให้มีรสชาติกลมกล่อม และเหมาะกับอาหารชนิดนั้น ๆ เช่นเรื่องรักก็ควรใช้สำนวนภาษาที่อ่อนหวานซาบซึ้ง เรื่องบู๊ก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่รุนแรงดุดัน เรื่องสำหรับเด็กควรใช้สำนวนภาษาที่สื่อความหมายชัดเจนและเข้าใจง่าย หรือเรื่องตลกก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่เฮฮาสนุกสนาน เป็นต้น |
− | ::ซึ่งในข้อ 6.นี้ บางสำนักแบ่งออกเป็น 6 ข้อย่อย ได้แก่ | + | :::ซึ่งในข้อ 6.นี้ บางสำนักแบ่งออกเป็น 6 ข้อย่อย ได้แก่ |
− | :::ก.พลอตเรื่อง (Plot) | + | ::::ก.พลอตเรื่อง (Plot) |
− | :::ข.ตัวละคร (Character) | + | ::::ข.ตัวละคร (Character) |
− | :::ค.ฉากหรือสถานที่ (Setting) | + | ::::ค.ฉากหรือสถานที่ (Setting) |
− | :::ง.บทสนทนา (Dialoque) | + | ::::ง.บทสนทนา (Dialoque) |
− | :::จ.มุมมอง (Point of View) | + | ::::จ.มุมมอง (Point of View) |
− | :::ฉ.แก่นของเรื่อง (Theme) | + | ::::ฉ.แก่นของเรื่อง (Theme) |
− | + | ''' สรุป''' | |
+ | โดยสรุปแล้ว วรรณศิลป์เป็นทั้งเครื่องมือและศิลปะของการแต่งหนังสือ ซึ่งผู้ที่เป็นนักเขียนจะต้อง | ||
ศึกษา ค้นคว้า และฝึกปรือจนมีความช่ำชองเรื่องที่ขาดวรรณศิลป์ ไม่อาจเรียกว่าเป็นวรรณคดี วรรณกรรม หรือเรื่องแต่งที่ดีได้ | ศึกษา ค้นคว้า และฝึกปรือจนมีความช่ำชองเรื่องที่ขาดวรรณศิลป์ ไม่อาจเรียกว่าเป็นวรรณคดี วรรณกรรม หรือเรื่องแต่งที่ดีได้ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:10, 13 กันยายน 2562
ความหมายของวรรณศิลป์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ให้คำอธิบายความหมายของวรรณศิลป์ไว้ว่า คือศิลปะในการแต่งหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์ วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี วรรณศิลป์ หรือศิลปะในการแต่งหนังสือมีหลักใหญ่ ๆ 3 ประการ ได้แก่ สุนทรียรส ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องราวและความคิดของผู้เขียน และเนื้อหาของเรื่องทีมีคุณภาพ องค์ประกอบของวรรณศิลป์มี 6 ประการด้วยกัน ได้แก่
- 1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion)
- 2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination)
- 3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication)
- 4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity)
- 5.กลวิวิธีในการเขียน(Technique)
- 6.การจัดวางองค์ประกอบของเรื่อง ทิศทางของเรื่อง และสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่อง อย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording)
- ซึ่งขออธิบายโดยสังเขป ดังนี้
- 1.อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) เป็นเสมือนหัวใจของเรื่อง เพราะคนเราจะรับรู้และจดจำอารมณ์สะเทือนใจอย่างฝังใจ แม้ว่าบางครั้งอาจจะจำเรื่องราวทั้งหมดไม่ได้ก็ตาม อารมณ์สะเทือนใจมีได้ทั้งอารมณ์รัก อารมณ์แค้น อารมณ์สุข อารมณ์เศร้า หรือแม้แต่อารมณ์ขัน ตัวอย่างเช่นบทละครของเช็คสเปียร์จะมีอารมณ์สะเทือนใจสูงเสมอทั้งอารมณ์รัก อารมณ์เศร้า รวมทั้งจิตอารมณ์ด้านมืดของมนุษย์ เรื่องแต่งที่ขาดอารมณ์สะเทือนใจก็ไม่ต่างอะไรจากกร่างที่ขาดวิญญาณหรือกระดาษเปล่า
- ซึ่งขออธิบายโดยสังเขป ดังนี้
- 2. ความคิดและจินตนาการ (Though and Imagination) เป็นเสมือนสมองของเรื่อง เราเรียนรู้เรื่องสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวากันมาแล้ว เรื่องที่ดีเปรียบเหมือนสมองสองซีกของมนุษย์ ซึ่งควรจะมีความสมดุลทั้งความคิดและจินตนาการ ความคิดเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การทดลอง และประสบการณ์ ส่วนจินตนการมาจากความรู้สึกนึกคิด ความฝัน และการสร้างภาพในมโนสำนึก แม้ว่าไอน์สไตน์จะเคยกล่าวว่าจินตนการมีความสำคัญกว่าความรู้ แต่สำหรับนักเขียน ทั้งความรู้ความคิด และจินตนาการ มีความสำคัญใกล้เคียงกันและเกื้อกูลกัน เรื่องที่มีแต่ความคิดโดยปราศจากจินตนาการจะแห้งแล้งไร้สีสัน ขณะเดียวกันเรื่องที่มีแต่จินตนาการโดยปราศจากความคิดก็จะฟุ้งฝันฟูฟ่องเหมือนฟองสบู่
- 3.การสื่อสารกับผู้อ่าน (Communication) เปรียบเสมือนปากของเรื่อง เพราะการเขียน คือการนำสารจากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านความสามารถในการส่งสารจึงเป็นสิ่งสำคัญ ว่าผู้เขียนจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกันในเนื้อหาของสารหรือไม่ และจะทำให้ผู้อ่านคล้อยตาม เชื่อตาม และติดตามสารนั้นหรือไม่ การส่งสารที่ดีนั้นจะต้องเป็นเนื้อเดียวกัน ทั้งผู้ส่งสาร และผู้รับ ไม่ทำให้เกิดช่องว่างหรือการตีความที่ผิดแผกไประหว่างการเดินทางของสารจากผู้เขียนถึงผู้อ่าน ดังนั้น ผู้เขียนจึงต้องเปล่งสารอย่างชัดเจน และหาทางให้ผู้อ่านส่งเสียงสะท้อนกลับมา เรื่องที่ไประสบความสำเร็จมักจะเป็นเรื่องที่ทำให้ผู้อ่านตกอยู่ในวงสาร
- 4. อัตลักษณ์ของผู้เขียน (Identity) เป็นเสมือนบุคลิกหรือลายนิ้วมือของผู้เขียน ซึ่งทำให้เรื่องของผู้เขียนคนนั้นมีความเป็นตัวของตัวเอง โดดเด่น และแตกต่างไปจากคนอื่น ๆ อัตลักษณ์ในการเขียนเป็นส่วนประกอบระหว่างตัวตนของผู้เขียน วิสัยทัศน์หรือทัศนคติของผู้เขียน สีลา รวมทั้งสำนวนโวหารและทักษะในการเขียน โดยทั่วไปแล้ว ผู้เขียนอาจจะต้องใช้เวลาในการสร้างอัตลักษณ์ หรือแสดงอัตลักษณ์ให้เป็นที่ปรากฏแก่ผู้อ่าน อย่างไรก็ตามอัตลักษณ์ต้องเป็นสิ่งที่แท้จริงมิใช่การแสร้งสร้าง เพราะไม่มีใครสามารถลวงหลอกทุกคนในทุกเวลา และที่สำคัญก็คือไม่มีใครสามารถหลอกตัวเองได้ตลอดกาล
- 5.กลวิธีการเขียน (Technique) เป็นทั้งแขนขาและกลไกในการขับเคลื่อนความคิดและจินตนาการของผู้เขียนมาสู่ผู้อ่าน ผู้เขียนจะต้องสามารถนำรูปแบบ และเครื่องมือต่าง ๆ ในการเขียน มาใช้ได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่องรวมทั้งเป็นการเรียบเรียงเรื่องอย่างเป็นระบบ และลำเลียงเรื่องที่เรียบเรียงแล้วนั้นออกมาสู่ผู้อ่านด้วยรูปแบบที่น่าสนใจและชวนติดตาม เรื่องบางเรื่องที่ไม่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็มีกลวิธีการเขียนให้สนุกสนานน่าสนใจได้ แต่เรื่องบางเรื่องที่น่าสนใจแต่ผู้เขียนบางคนก็ขาดกลวีการเขียนจนทำให้กลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อได้เหมือนกัน เข้าทำนอง "อันถ้อยความเดียวกันสำคัญกล่าว"
- 6.การจัดวางองค์ประกอบ ทิศทางของเรื่องและสำนวนภาษาที่ใช้ในเรื่องอย่างเหมาะสม (Composition, Direction and Wording) เป็นเสมือนหน้าตาของเรื่องทีต้องมีการตบแต่งให้สะสวย องค์ประกอบของเรื่องจะต้องมีการจัดวางอย่างเหมาะสม ไม่รกหรือโล่งจนเกินไป มีน้ำหนักและโทนของเรื่องที่กลมกลืน มีการสร้างตัวละคร เหตุการณ์ สถานที่ ซึ่งมีความลงตัว เรื่องที่ดีทุกเรื่องจะต้องมีทิศทางหรือแผนทาง (road map) เพื่อกำหนดเป้าหมายและควบคุมการเดินเรื่อง มิเช่นนั้นแล้วอาจทำให้หลงทางหรือออกนอกเรื่องไป ขณะเดียวกับทิศทางหรือแผนทางก็จะช่วยให้เรื่องมีความกระชับไม่เยิ่นเย้อ
- สำนวนภาษาเหมือนเครื่องปรุงที่จะปรุงรสอาหารแต่ละจานให้มีรสชาติกลมกล่อม และเหมาะกับอาหารชนิดนั้น ๆ เช่นเรื่องรักก็ควรใช้สำนวนภาษาที่อ่อนหวานซาบซึ้ง เรื่องบู๊ก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่รุนแรงดุดัน เรื่องสำหรับเด็กควรใช้สำนวนภาษาที่สื่อความหมายชัดเจนและเข้าใจง่าย หรือเรื่องตลกก็ควรต้องใช้สำนวนภาษาที่เฮฮาสนุกสนาน เป็นต้น
- ซึ่งในข้อ 6.นี้ บางสำนักแบ่งออกเป็น 6 ข้อย่อย ได้แก่
- ก.พลอตเรื่อง (Plot)
- ข.ตัวละคร (Character)
- ค.ฉากหรือสถานที่ (Setting)
- ง.บทสนทนา (Dialoque)
- จ.มุมมอง (Point of View)
- ฉ.แก่นของเรื่อง (Theme)
สรุป
โดยสรุปแล้ว วรรณศิลป์เป็นทั้งเครื่องมือและศิลปะของการแต่งหนังสือ ซึ่งผู้ที่เป็นนักเขียนจะต้อง ศึกษา ค้นคว้า และฝึกปรือจนมีความช่ำชองเรื่องที่ขาดวรรณศิลป์ ไม่อาจเรียกว่าเป็นวรรณคดี วรรณกรรม หรือเรื่องแต่งที่ดีได้